โบราณสถาน สมัยทวารวดี
890
รวมโบราณสถานสำคัญๆ ในสมัยทวารวดี ในประเทศไทย(ปัจจุบัน)
“ทวารวดี” อาณาจักร์โบราณ อายุเก่าแก่ตั้งแต่ก่อนพุทธศตวรรษที่ 12 (พ.ศ. 1100) ถึงพุทธศตวรรษที่ 15 (พ.ศ. 1400) แถบจังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน เป็นสถานที่ค้นพบโบราณสถานและวัตถุหลักฐานมากที่สุด จึงคาดว่าเป็นจุดศูนย์รวมของอาณาจักรทวารวดี ครอบคลุมจังหวัดสุพรรณบุรี ราชบุรี ลพบุรี ไปจนถึงภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน และภาคใต้ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า ชาวมอญและละว้าในอาณาจักรทวาราวดีมีการติดต่อค้าขายทางทะเลอย่างกว้างขวาง เพราะมีเส้นทางออกสู่ทะเลมากมาย เมื่อความรุ่งเรืองของอาณาจักรทวารวดีค่อยๆเสื่อมลง ฝ่ายขอมจึงฉวยโอกาสเข้าตีเมือง อาณาจักรทวารวดีถึงกาลล่มสลายและตกอยู่ในอำนาจของขอมอย่างสมบูรณ์เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 16
ในสมัยอาณาจักรทวารวดีได้รับอิทธิพลทางศาสนาพุทธและฮินดู สถาปัตยกรรมแบบทวาราวดีที่หลงเหลือถึงปัจจุบันจึงมักเหลือเพียงซากฐานโบราณสถาน ดังเช่นที่พบในแหล่งโบราณคดีที่นครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี มักก่ออิฐและใช้สอดิน บางแห่งมีการใช้ศิลาแลงบ้าง การก่อสร้างบริเวณฐานเจดีย์มักเป็นรูปฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า ย่อมุม และมีบันไดลงไปด้านล่าง ส่วนเจดีย์เป็นทรงระฆังคว่ำมียอดแหลมอยู่ด้านบน สันนิษฐานว่าเป็นแบบอย่างที่รับจากศิลปะอินเดียสมัยปาละ
กล่าวคือ สถาปัตยกรรมสมัยทวารวดีที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเนื่องในพุทธศาสนาเช่นเดียวกับประติมากรรม ได้แก่ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ต่างๆ ซึ่งมักอยู่ในสภาพปรักหักพัง ส่วนใหญ่เป็นอาคารก่ออิฐสอดิน มีแผนผังแตกต่างกันออกไป เช่น ผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือผังกลม อิฐที่ใช้มักมีขนาดใหญ่ มีแกลบผสม หรืออาจใช้ศิลาแลงบ้างในบางครั้ง ในจังหวัดนครปฐม ได้พบสถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี อยู่หลายแห่งด้วยกัน ที่สำคัญเช่น เจดีย์พระประโทน เจดีย์จุลประโทน เจดีย์วัดพระเมรุ เป็นต้น
ตัวอย่างสถาปัตยกรรมทวารวดีเท่าที่มีการสำรวจทางโบราณคดี อาทิ วัดพระเมรุและเจดีย์จุลประโทน จังหวัดนครปฐม ปรากฏประติมากรรมดินเผาและปูนปั้นประดับอยู่รอบฐาน (ส่วนใหญ่เก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดนครปฐม) และที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี บ้านโคกไม้เดน จังหวัดนครสวรรค์ เมืองฟ้าแดดสูงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ และเมืองพระรถ ดงศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี
พระธาตุยาคู
พระธาตุยาคู หรือ พระธาตุใหญ่ เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในเมืองฟ้าแดดสงยาง ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยมก่อนด้วยอิฐปรากฎการก่อสร้าง 3 สมัยด้วยกันคือ ส่วนฐานะเป็นรูปสี่เหลี่ยนมย่มมุม มีบันไดทางขึ้น 4 ทิศ มีปูนปั้นประดับสร้างในสมัยทวารวดี ถัดขึ้นไปเป็นฐานรูปแปดเหลี่ยม ซึ่งสร้างซ้อมทับบนฐานแบบเจดีย์ในสมัยอยุธยา ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดสร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ รอบๆองค์พระธาตุพบในเสมาแกะสลักภาพนู... ดูเพิ่มเติม
“ทวารวดี” อาณาจักร์โบราณ อายุเก่าแก่ตั้งแต่ก่อนพุทธศตวรรษที่ 12 (พ.ศ. 1100) ถึงพุทธศตวรรษที่ 15 (พ.ศ. 1400) แถบจังหวัดนครปฐมในปัจจุบัน เป็นสถานที่ค้นพบโบราณสถานและวัตถุหลักฐานมากที่สุด จึงคาดว่าเป็นจุดศูนย์รวมของอาณาจักรทวารวดี ครอบคลุมจังหวัดสุพรรณบุรี ราชบุรี ลพบุรี ไปจนถึงภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน และภาคใต้ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า ชาวมอญและละว้าในอาณาจักรทวาราวดีมีการติดต่อค้าขายทางทะเลอย่างกว้างขวาง เพราะมีเส้นทางออกสู่ทะเลมากมาย เมื่อความรุ่งเรืองของอาณาจักรทวารวดีค่อยๆเสื่อมลง ฝ่ายขอมจึงฉวยโอกาสเข้าตีเมือง อาณาจักรทวารวดีถึงกาลล่มสลายและตกอยู่ในอำนาจของขอมอย่างสมบูรณ์เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 16
ในสมัยอาณาจักรทวารวดีได้รับอิทธิพลทางศาสนาพุทธและฮินดู สถาปัตยกรรมแบบทวาราวดีที่หลงเหลือถึงปัจจุบันจึงมักเหลือเพียงซากฐานโบราณสถาน ดังเช่นที่พบในแหล่งโบราณคดีที่นครปฐม สุพรรณบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี มักก่ออิฐและใช้สอดิน บางแห่งมีการใช้ศิลาแลงบ้าง การก่อสร้างบริเวณฐานเจดีย์มักเป็นรูปฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า ย่อมุม และมีบันไดลงไปด้านล่าง ส่วนเจดีย์เป็นทรงระฆังคว่ำมียอดแหลมอยู่ด้านบน สันนิษฐานว่าเป็นแบบอย่างที่รับจากศิลปะอินเดียสมัยปาละ
กล่าวคือ สถาปัตยกรรมสมัยทวารวดีที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน เป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างขึ้นเนื่องในพุทธศาสนาเช่นเดียวกับประติมากรรม ได้แก่ โบสถ์ วิหาร เจดีย์ต่างๆ ซึ่งมักอยู่ในสภาพปรักหักพัง ส่วนใหญ่เป็นอาคารก่ออิฐสอดิน มีแผนผังแตกต่างกันออกไป เช่น ผังรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือผังกลม อิฐที่ใช้มักมีขนาดใหญ่ มีแกลบผสม หรืออาจใช้ศิลาแลงบ้างในบางครั้ง ในจังหวัดนครปฐม ได้พบสถาปัตยกรรมสมัยทวารวดี อยู่หลายแห่งด้วยกัน ที่สำคัญเช่น เจดีย์พระประโทน เจดีย์จุลประโทน เจดีย์วัดพระเมรุ เป็นต้น
ตัวอย่างสถาปัตยกรรมทวารวดีเท่าที่มีการสำรวจทางโบราณคดี อาทิ วัดพระเมรุและเจดีย์จุลประโทน จังหวัดนครปฐม ปรากฏประติมากรรมดินเผาและปูนปั้นประดับอยู่รอบฐาน (ส่วนใหญ่เก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดนครปฐม) และที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมืองคูบัว จังหวัดราชบุรี บ้านโคกไม้เดน จังหวัดนครสวรรค์ เมืองฟ้าแดดสูงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ และเมืองพระรถ ดงศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี
พระปฐมเจดีย์ เป็นพระมหาเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย การที่ได้ชื่อว่าพระปฐมเจดีย์นั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ทรงสันนิษฐานว่า น่าจะเป็นพระเจดีย์เก่ากว่าพระเจดีย์อื่น ๆ ในประเทศสยาม
สันนิษฐานว่าสร้างสมัยทวาราวดี ตั้งอยู่ที่เมืองนครไชยศรีในสมัยก่อน ปัจจุบันอยู่ในอำเภอเมืองนครปฐม จากเอกสารเก่าที่บันทึกเรื่องนี้ไว้มีประวัติว่า พระปฐมเจดีย์ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๕๐๐ ก็มี พ.ศ. ๑๐๐๐ ก็มี พ.ศ. ๑๑๘๕ ก็... ดูเพิ่มเติม
สันนิษฐานว่าสร้างสมัยทวาราวดี ตั้งอยู่ที่เมืองนครไชยศรีในสมัยก่อน ปัจจุบันอยู่ในอำเภอเมืองนครปฐม จากเอกสารเก่าที่บันทึกเรื่องนี้ไว้มีประวัติว่า พระปฐมเจดีย์ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๕๐๐ ก็มี พ.ศ. ๑๐๐๐ ก็มี พ.ศ. ๑๑๘๕ ก็... ดูเพิ่มเติม
วัดพระประโทณเจดีย์สันนิษฐานว่าการสร้างครั้งแรกสร้างขึ้นในสมัยทวารวดี ห่างจากที่ตั้งวัดปัจจุบัน ไปทางทิศเหนือขององค์พระประโทณเจดีย์ประมาณ 1,200 เมตร
วัดพระประโทณเจดีย์ปัจจุบันสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราว พ.ศ. 2324 ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือขององค์พระประโทณเจดีย์ประมาณ 20 เมตร สันนิษฐานว่าย้ายมาจากที่เดิมเมื่อ 200 ปีเศษ เพราะมีกุฏิโบราณหลังหนึ่งจารึกตัวหนังสือและตัวเลขด้วยปูนบอกว่าซ่... ดูเพิ่มเติม
วัดพระประโทณเจดีย์ปัจจุบันสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราว พ.ศ. 2324 ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือขององค์พระประโทณเจดีย์ประมาณ 20 เมตร สันนิษฐานว่าย้ายมาจากที่เดิมเมื่อ 200 ปีเศษ เพราะมีกุฏิโบราณหลังหนึ่งจารึกตัวหนังสือและตัวเลขด้วยปูนบอกว่าซ่... ดูเพิ่มเติม
เมืองเก่าศรีเทพ เดิมชื่อ "เมืองอภัยสาลี" ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็น" เมืองศรีเทพ" เป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี เมืองศรีเทพ เป็นเมืองที่มีคูน้ำและคันดินล้อมรอบ มีเนื้อที่ประมาณ 2,889 ไร่ หรือ 4.7 ตรกม.. ภายในตัวเมืองศรีเทพแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ เมืองส่วนใน มีลักษณะเป็นรูปเกือบกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 กม. มีช่องทางเข้าออก 8 ช่องทาง พื้นที่ภายในเ...
ดูเพิ่มเติม
เมืองโบราณศรีมโหสถ ตั้งอยู่ที่บ้านโคกวัด ตำบลโคกปีบ เป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดีขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นรูปไข่ หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน มีเนื้อที่ประมาณ 700 ไร่ ลักษณะของเมืองมีคูเมือง และ คันดินกำแพงเมืองล้อมรอบคูน้ำ ภายในเมืองมีโบราณสถาน เนินดิน สระน้ำ บ่อน้ำ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปกว่า 100 แห่ง สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยทวารวดี หลักฐานส่วนใหญ่ที่พบมักจะเกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู เช่น เทวาล...
ดูเพิ่มเติม
รอยพระพุทธบาทวัดเขาดีสลัก อยู่ที่ หมู่ที่ 5 ตำบลดอนคา เป็นรอยพระพุทธบาทจำลองสร้างด้วยหินสีเขียว มีลักษณะแตกต่าง จากรอยพระพุทธบาทที่พบตามที่อื่นๆ คือ เป็นรอยพระพุทธบาทนูน ขนาดกว้างประมาณ 65.5 เซนติเมตร. ยาว 141.5 เซนติเมตร. นักโบราณคดีให้ความเห็นว่าเป็นศิลปะสมัยทวารวดี อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 14-16 นอกจากนี้ยังพบโพรงหินภายในมีพระพุทธรูปและโบราณวัตถุต่างๆ อีกหลายชนิด
... ดูเพิ่มเติม
... ดูเพิ่มเติม
เมืองโบราณบ้านคูบัว กรมศิลปากรได้ขุดค้นและศึกษาเรื่องเมืองโบราณที่คูบัว ได้พบหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ มากมาย เช่น เศียรพระพุทธรูปสมัยโบราณต่างๆ ซึ่งหลักฐานต่างๆ เหล่านี้ได้ตั้งแสดงที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และมีบางส่วนเก็บรักษาไว้ที่วัดโขลง ตำบลคูบัว อำเภอเมืองจังหวัดราชบุรี จากการศึกษาและค้นคว้าเมืองโบราณที่คูบัวนี้ ทำให้ทราบว่าได้รับอิทธิพลศิลปกรรมจากช่างสมัยราชวงศ์คุปตะ ประเทศอินเดีย...
ดูเพิ่มเติม
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ราชบุรี เป็นวัดเก่าแก่ ตั้งอยู่ใจกลางเมืองราชบุรี "ชยราชบุรี" ตามที่ปรากฎในศิลาจารึกปราสาทพระขรรค์ รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 (พ.ศ.1725-1760) มหาราชองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรเขมรโบราณ ร่วมกับอีก 5 เมือง คือ ลโวทยปุระ (เมืองลพบุรี) สุวรรณปุระ (เมืองสุพรรณบุรี) ศัมพูกปัฏฏนะ (เมืองโกสินารายณ์ อ.บ้านโป่ง) ศรีวิชัยสิงหะบุรี (เมืองสิงห์ กาญจนบุรี) และศรีชัยวัชรบุรี (เมืองเพชร...
ดูเพิ่มเติม
เมืองโบราณดงละคร เป็นเมืองรูปไข่เกือบกลม มีคูน้ำและคันดินโดยรอบ มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ไร่ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 700-800 เมตร เดิมมีแนวกั้นเป็นคันดินสองชั้นแต่ปัจจุบันเหลือเพียงชั้นนอกชั้นเดียว คันดินชั้นนอกมีความสูงกว่าคันดินชั้นใน แต่คันดินชั้นในมีความหนามากกว่า ลักษณะการสร้างเมืองนั้นติดกับแม่น้ำนครนายกสายเดิม ซึ่งติดต่อกับชายฝั่งทะเลได้ เหมาะแก่การค้าขายทางทะเล และยังสามารถทำการเกษต...
ดูเพิ่มเติม
พระธาตุเมืองพระรถ
เป็นเจดีย์โบราณ ก่อด้วยอิฐแดงถือปูน ได้รับการบูรณะใหม่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่บ้านโก่ย หมู่ที่ 4 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
นอกกำแพงเมืองพระรถทางด้านทิศตะวันตก บนเนินดินสูงจากพื้น ประมาณ 2 วา องค์เจดีย์มีฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้าน 3.5 เมตร สูงจากฐาน 3.5 เมตร เชื่อกันว่าเป็นที่บรรจุอิฐิ หรือ "พระธาตุ" ของเจ้าเมื่องหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงมีผู้มากราบไหว้ไม่ขาดสา... ดูเพิ่มเติม
เป็นเจดีย์โบราณ ก่อด้วยอิฐแดงถือปูน ได้รับการบูรณะใหม่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ที่บ้านโก่ย หมู่ที่ 4 ตำบลหน้าพระธาตุ อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
นอกกำแพงเมืองพระรถทางด้านทิศตะวันตก บนเนินดินสูงจากพื้น ประมาณ 2 วา องค์เจดีย์มีฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้าน 3.5 เมตร สูงจากฐาน 3.5 เมตร เชื่อกันว่าเป็นที่บรรจุอิฐิ หรือ "พระธาตุ" ของเจ้าเมื่องหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ จึงมีผู้มากราบไหว้ไม่ขาดสา... ดูเพิ่มเติม
จันเสนเมืองโบราณ มีเนื้อที่ประมาณ 300ไร่ ภายในคูเมืองมีลักษณะเป็นเนินสูงกว่าพื้นที่รอบนอกคูเมือง จึงเรียกว่า "โคกจันเสน" ในบริเวณขุดพบโบราณวัตถุหลายอย่าง ประเภทที่ทำด้วยเศษดินเผา อาทิ พระพิมพ์ต่าง ๆ ตุ๊กตา ตะเกียง ประเภทที่ทำด้วยหิน ได้แก่ ฐานบัว ธรรมจักร ขวานหินขัดที่ทำด้วยโลหะ มีตุ้มหูทำด้วยตะกั่วหรือดีบุก ใบหอกที่ทำด้วยสำริด ปัจจุบันโบราณวัตถุดังกล่าวเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑ์จันเสน ซ...
ดูเพิ่มเติม
เมืองโบราณโนนเมือง เล่าสืบต่อกันมาว่าที่เนินดินกว้างที่เรียกว่าโนนเมืองนั้นเป็นเมืองโบราณ ลักษณะ เป็นเนินดินรูปไข่ มีพื้นที่ประมาณ 216 ไร่ ล้อมรอบด้วยคูเมือง 2 ชั้น เมื่อนักโบราณคดีเข้าไปสำรวจพบ ใบเสมาหินทราย ศิลปทวาราวดีปักอยู่ในเมืองและพื้นที่โดยรอบ มีเศษภาชนะดินเผาชิ้นไม่ใหญ่นักกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปบนเนินดิน เศษภาชนะดินเผาเหล่านี้มีทั้งชนิดเขียนสีแดง ชนิดลายขูดขีดและลายเชือกทาบในชั้นดินสมัยทวา...
ดูเพิ่มเติม
พระพุทธรูปมิ่งเมือง เป็นพระพุทธรูปสมัยทวารวดีสร้างขึ้นด้วยหินทรายแดง เหมือนพระพุธทรูปยืนมงคลเสร็จพร้อมกันแล้วทำการฉลองยางมโหฬาร ปรากฎว่าตั้งแต่ได้สร้างพระพุทธรูปทั้งสององค์แล้วฝนก็ตกต้องตามฤดูกาล พระพุทธรูปยืนมงคล พระพุทธรูปสององค์ และพระพิมพ์กันทรวิชัย เป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคาระบูชาของชาวอำเภอกันทรวิชัย และชาวจังหวัดมหาสารคามทุกคน ไม่ว่าจะกราบไหว้ขอพร หรือบนบานศาลกล่าว ก็ได้สมใจนึ...
ดูเพิ่มเติม
นอกจากภูปอจะเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปปางไสยาสน์อันศักดิ์สิทธิ์แล้ว ยังมีทิวทัศน์ตามธรรมชาติที่สวยงามเหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจอย่างยิ่ง ประชาชนในท้องถิ่นจัดงานสมโภชน์พระพุทธไสยาสน์ขึ้นประมาณเดือนเมษายนของทุกปี สร้างขึ้นประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12-14 ลักษณะศิลปกรรมสร้างตามศิลปกรรมแบบทวารวดี สกุลช่างอีสาน ความยาวของภาพสลัก 3.30 เมตร กว้าง 1.27 เมตร ภาพสลัก ณ ที่นี้มิได้สลักแต่รูปองค์พระลอย ๆ แต่...
ดูเพิ่มเติม
14
พระธาตุยาคู
พระธาตุยาคู หรือ พระธาตุใหญ่ เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในเมืองฟ้าแดดสงยาง ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยมก่อนด้วยอิฐปรากฎการก่อสร้าง 3 สมัยด้วยกันคือ ส่วนฐานะเป็นรูปสี่เหลี่ยนมย่มมุม มีบันไดทางขึ้น 4 ทิศ มีปูนปั้นประดับสร้างในสมัยทวารวดี ถัดขึ้นไปเป็นฐานรูปแปดเหลี่ยม ซึ่งสร้างซ้อมทับบนฐานแบบเจดีย์ในสมัยอยุธยา ส่วนองค์ระฆังและส่วนยอดสร้างในสมัยรัตนโกสินทร์ รอบๆองค์พระธาตุพบในเสมาแกะสลักภาพนู... ดูเพิ่มเติม