12 วัดไหว้พระขอพร หลังปลดล็อคโควิด
37332
12 วัด น่าไปไหว้พระขอพร หลังปลดล็อคโควิท ช่วงนี้
วัดต้นสน สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ประมาณปีพุทธศักราช 2310 วัดนี้ตามสันนิษฐานสร้างเมื่อตอนปลาย สมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะอุโบสถหลังเก่ามี บัวอ่อน คันทวย แต่ไม่มีจดหมายเหตุบันทึกไว้เป็นหลักฐาน แต่ผู้เฒ่าแก่เล่ากันต่อๆมา และได้ทรุดโทรมมาจนเกือบจะกลายสภาพเป็นวัดร้าง เพราะไม่มีปูชณียวัตถุแต่อย่างใด ต่อมาปีพุทธศักราช 2488 พระราชสุวรรณโมลี อดีตเจ้าคณะจังหวัดอ่างทอง ได้ริเริ่มการก่อ...
ดูเพิ่มเติม
วัดพนัญเชิงวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร แบบมหานิกาย สร้างมาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี (จากคำให้การชาวกรุงเก่ากล่าวว่าเป็นพระอารามหลวงลำดับที่ 15) อยู่ในเขตปกครองของคณะสงฆ์ตำบลหอรัตนไชย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ตอนใต้ของเกาะเมือง ทางราชการใช้ชื่อว่าตำบลคลองสวนพลู (หรือตำบลกะมัง) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประวัติ
วัดพนัญเชิง เป็นวัดเก่า สร้... ดูเพิ่มเติม
ประวัติ
วัดพนัญเชิง เป็นวัดเก่า สร้... ดูเพิ่มเติม
วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อวัดป่าแก้วหรือวัดเจ้าพระยาไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำป่าสัก จากกรุงเทพฯ เข้าตัวเมืองอยุธยาแล้วจะเห็นเจดีย์วัดสามปลื้ม (เจดีย์กลางถนน) ให้เลี้ยวซ้ายตรงไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะเห็นวัดใหญ่ชัยมงคลอยู่ทางซ้ายมือ วัดนี้ตามข้อมูลประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าพระเจ้าอู่ทองทรงสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1900 สำหรับเป็นสำนักของพระสงฆ์ซึ่งไปบวชเรียนมาแต่สำนักพระวันรัตน์มหาเถรในประเทศลังกา คณ...
ดูเพิ่มเติม
วัดอโยธยา (วัดเดิม) ตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของเขตการอนุรักษ์เมืองเก่าอโยธยา หลักฐานในเรื่องการสร้างวัดมีปรากฏในพงศาวดารเหนือ ซึ่งพระยาประชากิจกรจักร เขียนไว้ในพงศาวดารโยนก ว่าเคยเป็นวังสมัยละโว้มาก่อน แล้วต่อมาพระเจ้าหลวงยกให้เป็นวัดตั้งแต่จุลศักราชล่วงเข้า 400 ปี มาแล้ว (พ.ศ. 1581) และยังเคยเป็นที่ตีดาบของพระเนศวร
ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2486 โดยประกาศ ในราชกิจจา... ดูเพิ่มเติม
ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 2486 โดยประกาศ ในราชกิจจา... ดูเพิ่มเติม
วิหารพระมงคลบพิตร วิหารพระมงคลบพิตร ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ ใช้เส้นทางเดียวกับทางไปคุ้มขุนแผน วิหารพระมงคลบพิตรจะอยู่ถัดไปไม่ไกลนัก พระมงคลบพิตรเป็นพระพุทธรูปบุสัมฤทธิ์ปางมารวิชัย มีขนาดหน้าตักกว้าง 9.55 เมตร และสูง 12.45 เมตร นับเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่องค์หนึ่งในประเทศไทย ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นระหว่างปี พ.ศ. 1991–2145
ส... ดูเพิ่มเติม
ส... ดูเพิ่มเติม
วัดหน้าพระเมรุ ตั้งอยู่ริมคลองสระบัวด้านทิศเหนือของคูเมือง (เดิมเป็นแม่น้ำลพบุรี) ตรงข้ามกับพระราชวังหลวง สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น พุทธศักราช 2046 มีชื่อเดิมว่า “วัดพระเมรุราชิการาม” ที่ตั้งของวัดนี้เดิมคงเป็นสถานที่สำหรับสร้างพระเมรุถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์พระองค์ใดพระองค์หนึ่งสมัยอยุธยาตอนต้นต่อมาจึงได้สร้างวัดขึ้น
มีตำนานเล่าว่าพระองค์อินทร์ในรัชกาลสมเด็จพระ... ดูเพิ่มเติม
มีตำนานเล่าว่าพระองค์อินทร์ในรัชกาลสมเด็จพระ... ดูเพิ่มเติม
วัดท่าการ้อง สร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2092 ประมาณ 450 ปี เศษมาแล้ว ไม่ปรากฏหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้างและสร้างในปีใด สันนิษฐาว่าคงเป็นวัดที่ราษฎรสร้าง เพราะไม่ปรากฏรายชื่อพระอารามหลวงสมัยอยุธยา
ตามบันทึกพระราชพงศาวดาร วัดท่าการ้องมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยามากมาย ที่ตั้ง อยู่ท่ามกลางชุมชนอิสลาม 2 หมู่บ้านคือ บ้านท่ากับบ้านการ้อง อันเป็นวัดพุทธศาสนาที่อยู่ท่ามกลางชุมชนมุสสิม
วัดท่ากา... ดูเพิ่มเติม
ตามบันทึกพระราชพงศาวดาร วัดท่าการ้องมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ของกรุงศรีอยุธยามากมาย ที่ตั้ง อยู่ท่ามกลางชุมชนอิสลาม 2 หมู่บ้านคือ บ้านท่ากับบ้านการ้อง อันเป็นวัดพุทธศาสนาที่อยู่ท่ามกลางชุมชนมุสสิม
วัดท่ากา... ดูเพิ่มเติม
วัดป่าโมกวรวิหาร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่งดงามมากองค์หนึ่งของประเทศไทย สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น มีความยาวจากพระเมาลีถึงปลายพระบาท ประมาณ 12 วา ( 22.58 เมตร) ก่ออิฐถือปูนปิดทอง ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง และผู้สร้าง แต่มีในพระราชพงศาวดารในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ว่าพระองค์ก่อนจะยกทัพไปรบ กับพระมหาอุปราชได้เสด็จมาชุมนุมพล และถวายสักการะ บูชาก่อนยกทัพไปตีพม่า และในสมัยสมเด็จพระเจ้า...
ดูเพิ่มเติม
หลวงพ่อสด(พระสงฆ์องค์ใหญ่) วัดจันทรังษี องค์หลวงพ่อทำจากโลหะสีเหลืองอร่ามที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ขนาดหน้าตักกว้าง 6 เมตร 9 นิ้ว และสูงถึง 9.9 เมตร
วัดนี้มีพื้นที่สองฝั่งถนน ฝั่งทิศตะวันออกมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนนิยมเรียกว่า “หลวงพ่อโยก” และฝั่งตะวันตกของถนนเป็นที่ตั้งของพระมหาวิหารจัตุรมุขพระมงคลเทพมุนี หลวงพ่อสด องค์ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างด้วยโลหะปิดทองคำเหลืองอร่ามทั้งองค์มีค... ดูเพิ่มเติม
วัดนี้มีพื้นที่สองฝั่งถนน ฝั่งทิศตะวันออกมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนนิยมเรียกว่า “หลวงพ่อโยก” และฝั่งตะวันตกของถนนเป็นที่ตั้งของพระมหาวิหารจัตุรมุขพระมงคลเทพมุนี หลวงพ่อสด องค์ใหญ่ที่สุดในโลก สร้างด้วยโลหะปิดทองคำเหลืองอร่ามทั้งองค์มีค... ดูเพิ่มเติม
9
วัดต้นสน
วัดม่วง มีพระอุโบสถล้อมรอบด้วยกลีบบัวที่ใหญ่ที่สุดในโลกภายในมีรูปปั้นเกจิอาจารย์ชื่อดังทั่วประเทศ มีแดนเทพเจ้าไทย แดนนรก แดนสวรรค์ และแดนเทพเจ้าจีน ซึ่งมีรูปปั้นเจ้าแม่กวนอิมขนาดใหญ่ มีรูปปั้นแสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสงครามไทย-พม่า ที่เมืองวิเศษชัยชาญ และสามารถซื้อผลิตภัณฑ์ของดีเมืองอ่างทองได้ด้วย
ประวัติพระพุทธรูปองค์ใหญ่
หลวงพ่อเกษม อาจารสุโภ เป็นผู้ริเริ่มสร้าง ตั้งนามองค์พระว่า &ld... ดูเพิ่มเติม
ประวัติพระพุทธรูปองค์ใหญ่
หลวงพ่อเกษม อาจารสุโภ เป็นผู้ริเริ่มสร้าง ตั้งนามองค์พระว่า &ld... ดูเพิ่มเติม
วัดขุนอินทประมูล เป็นวัดโบราณ พิจารณาจากซากอิฐแนวเขตเดิมคาดคะเนว่าเป็นวัดใหญ่ เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธไสยาสน์ที่ใหญ่และยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาวถึง 50 เมตร (25 วา) เดิมประดิษฐานอยู่ในวิหาร แต่ถูกไฟไหม้ปรักหักพังไปเหลือแต่องค์พระตากแดดตากฝนนานนับเป็นร้อย ๆ ปี องค์พระนอนมีพุทธลักษณะที่งดงาม พระพักตร์ยิ้มละไม สงบเยือกเย็นน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก พระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์ได้เคยเสด็จมาสักการะบู...
ดูเพิ่มเติม
วัดไชโยวรวิหาร เป็นวัดพระอารามหลวงชั้นโท อยู่บนเส้นทางสายอ่างทอง สิงห์บุรี ห่างจากอำเภอเมืองอ่างทองประมาณ 18 กม.
เดิมเป็นวัดราษฏร์โบราณสร้างมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏ มีความสำคัญขึ้นมาในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี ได้สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิองค์ใหญ่เป็นปูนขาวไม่ปิดทองไว้กลางแจ้ง ณ วัดแห่งนี้ ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จฯ มานมัสการและโปรดเกล้าฯ ... ดูเพิ่มเติม
เดิมเป็นวัดราษฏร์โบราณสร้างมาแต่ครั้งใดไม่ปรากฏ มีความสำคัญขึ้นมาในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี ได้สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิองค์ใหญ่เป็นปูนขาวไม่ปิดทองไว้กลางแจ้ง ณ วัดแห่งนี้ ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จฯ มานมัสการและโปรดเกล้าฯ ... ดูเพิ่มเติม