ศาลหลักเมืองทั่วไทย
12993
สถานที่อันเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ประจำเมือง สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ทั่วประเทศไทย
ศาลพระแม่ย่า รูปพระแม่ย่านี้ทำด้วยศิลาสลักแบบเทวรูป พระพักตร์ยาว พระหนุเสี้ยม พระเกตุมาลายาวประดับเครื่องทรงแบบนางพญาสูงประมาณ 1 เมตร พระแม่ย่าองค์นี้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระองค์ทรงสร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้กับพระมารดา คือนางเสือง การที่เรียกว่า"พระแม่ย่า" นี้เพราะว่า พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงเรียกมารดาว่า "พระแม่" และชาวเมืองสุโขทัยเคารพพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเสมอด้วยบิดา ดัง...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองกระบี่ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ อยู่ในบริเวณเดียวกันกับศาลากลางจังหวัด สามารถจดรถได้ที่ด้านในศาลากลางจังหวัด บริเวณศาลหลักเมืองมีพื้นประมาณหนึ่ง มีการจัดตกแต่งสวนรอบๆ ทำให้ดูสวยงาม สะอาดตา ศาลหลักเมืองกระบี่แห่งนี้นับได้ว่าเป็นที่รวมยึดเหนี่ยวจิตใจ และแสดงถึงความสามัคคีของชาวกระบี่ ที่มาเคารพสักการะ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว
... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง กรุงเทพ รัชกาลที่ 1ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีฝังเสาหลักเมืองกรุงเทพฯ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325 บรรจุดวงชะตาของกรุงเทพฯไว้ภายในเสาหลักเมือง เดิมทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ เส้นผ่าศูนย์กลาง 75 เซนติเมตร สูง 27 เซนติเมตร แต่สร้างใหม่ในรัชกาลที่ 4แทนของเดิมที่ชำรุดเป็นไม้ชัยพฤกษ์สูง 108 นิ้ว ฐานเป็นแท่นกว้าง 70 นิ้ว ตั้งอยู่ภายในอาคารยอดปรางค์อย่างที่เห็นในปัจจุบันภายในศาลหลักเม...
ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เป็นศาลที่สร้างขึ้นใหม่ ภายในศาลมีเสาหลักเมือง 2 เสา เสาหนึ่งเป็นเสาหลักเมืองปัจจุบันสร้างเมื่อ พ.ศ.2438 อีกเสาเป็นเสาเก่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2377 ยกเลิกเมื่อ พ.ศ.2438 และยังมีศาลเจ้าพ่อหลักเมืองอยู่ในบริเวณเดียวกัน
สถานที่ตั้งศาลหลักเมืองฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ถนนหน้าเมือง อยู่ข้างโรงพยาบาลฉะเชิงเทรา อยู่ริมแม่น้ำบางปะกง ซึ่งเป็นศาลที่สร้างขึ้นมาใหม่ ภายในศาลมีเสาหลักเมือง 2 เสา เสาหนึ... ดูเพิ่มเติม
สถานที่ตั้งศาลหลักเมืองฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ถนนหน้าเมือง อยู่ข้างโรงพยาบาลฉะเชิงเทรา อยู่ริมแม่น้ำบางปะกง ซึ่งเป็นศาลที่สร้างขึ้นมาใหม่ ภายในศาลมีเสาหลักเมือง 2 เสา เสาหนึ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง นี้สร้างขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฎหลักฐาน จากคำบอกเล่าและสันนิษฐานกันว่า สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ใกล้เคียงกับวัดใหญ่อินทารามกับศาลาฟังธรรม ทั้งสามนี้ ได้ขึ้นบัญชีเป็นศิลปกรรมโบราณสถานของจังหวัดชลบุรี
ในสมัยก่อน ตำบลบางปลาสร้อย เป็นตำบลที่มีชุมชนอยู่อย่างหนาแน่นกว่าชุมชนในตำบลอื่น ๆ ในจังหวัดชลบุรี มีตลาดการค้าใหญ่ เรียกกันว่า ท่าเกวียน ซึ่งอยู่ระหว่างวัดใหญ่อินทารามกับวัดต้... ดูเพิ่มเติม
ในสมัยก่อน ตำบลบางปลาสร้อย เป็นตำบลที่มีชุมชนอยู่อย่างหนาแน่นกว่าชุมชนในตำบลอื่น ๆ ในจังหวัดชลบุรี มีตลาดการค้าใหญ่ เรียกกันว่า ท่าเกวียน ซึ่งอยู่ระหว่างวัดใหญ่อินทารามกับวัดต้... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองระยอง ศาลหลักเมืองแห่งนี้สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เมื่อปี พ.ศ. 2438 เดิมเป็นศาลไม้ ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ลักษณะอาคารเป็นศาลเจ้าจีน ในปี พ.ศ. 2486 เสาหลักเมืองได้หักพังลงมา ต่อมามีการสร้างเสาหลักเมืองใหม่ และสร้างมณฑปจตุรมุขครอบเมื่อปี พ.ศ.2535 ชาวบ้านจึงร่วมกันบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น และสร้างมณฑปทรงจัตุรมุขครอบไว้ ...
ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองจันท์เคียงคู่กับศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินฯ เป็นศาลหลักเมืองที่สร้างอย่างสวยงาม ศาลเดิมนั้นสันนิษฐานว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินทรงสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2310
ต่อมามีสภาพทรุดโทรม ชาวจันทบุรีจึงร่วมกันก่อสร้างศาลใหม่ รวมทั้งหล่อองค์เจ้าพ่อหลักเมืองขึ้นใหม่ด้วย โดยวางศิลาฤกษ์เมื่อปี พ.ศ. 2524 ก่อสร้างแล้วเสร็จปี พ.ศ. 2526 หลักเมืองเป็นแท่งศิลาสูง 3 ม. ส่วนเจ้าพ่อ... ดูเพิ่มเติม
ต่อมามีสภาพทรุดโทรม ชาวจันทบุรีจึงร่วมกันก่อสร้างศาลใหม่ รวมทั้งหล่อองค์เจ้าพ่อหลักเมืองขึ้นใหม่ด้วย โดยวางศิลาฤกษ์เมื่อปี พ.ศ. 2524 ก่อสร้างแล้วเสร็จปี พ.ศ. 2526 หลักเมืองเป็นแท่งศิลาสูง 3 ม. ส่วนเจ้าพ่อ... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองตราด ตั้งอยู่บนถนนหลักเมือง ใกล้วัดโยธานิมิตร ศาลนี้มีลักษณะแปลกจากศาลหลักเมืองอื่น ๆ คือ ตัวอาคารก่อสร้างในลักษณะเป็นเก๋งจีน
เมื่อครั้งมารวบรวมรี้พลกอบกู้เอกราชที่ตราด สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามความเชื่อแบบจีนเพื่อให้ปกป้องคุ้มครองเมืองตราดให้รอดพ้นจากอันตราย ชาวเมืองอยู่เย็นเป็นสุข ศาลหลักเมืองเป็นดั่งศูนย์กลางเชื่อมความสัมพันธ์ไทย-จีน
ในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ... ดูเพิ่มเติม
เมื่อครั้งมารวบรวมรี้พลกอบกู้เอกราชที่ตราด สมเด็จพระเจ้าตากสินโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตามความเชื่อแบบจีนเพื่อให้ปกป้องคุ้มครองเมืองตราดให้รอดพ้นจากอันตราย ชาวเมืองอยู่เย็นเป็นสุข ศาลหลักเมืองเป็นดั่งศูนย์กลางเชื่อมความสัมพันธ์ไทย-จีน
ในวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ... ดูเพิ่มเติม
ศาลแห่งนี้สร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชระหว่าง พ.ศ.2199 - 2231 ตัวศาลและเสาหลักเมืองทำด้วยไม้ ในบริเวณผนังของศาล ด้านทิศตะวันออกเป็นกระเบื้องดินเผาปั้นลวดลายนูนต่ำเป็นเรื่องราวการสู้รบของท้าวสุรนารี และวิถิชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยโบราณ...
ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองศรีสะเกษ ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกถนนเทพาตัดกับถนนหลักเมือง ตำบลเมืองเหนือ อำเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากศาลากลางจังหวัดเพียงเล็กน้อย เดิมศาลหลักเมืองมีสภาพชำรุดทรุดโทรม ไม่เหมาะแก่การประกอบพิธีกรรมต่างๆ ต่อมา พ.ศ. 2529 ทางจังหวัดจึงได้ก่อสร้างศาลหลักเมืองขึ้นใหม่
มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมยกฐานสูง หลังคาทรงไทยจตุรมุข กรุด้วยหินอ่อนและกระจกสีอย่างงดงาม จั่วหน้าด้านทิศใต้ประด... ดูเพิ่มเติม
มีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมยกฐานสูง หลังคาทรงไทยจตุรมุข กรุด้วยหินอ่อนและกระจกสีอย่างงดงาม จั่วหน้าด้านทิศใต้ประด... ดูเพิ่มเติม
หลักเมืองสุรินทร์เป็นสถานที่สำคัญและเป็นที่นับถือคู่บ้านคู่เมืองของชาวสุรินทร์ อยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดไปทางทิศตะวันตกประมาณ500 เมตร หลักเมืองสุรินทร์นี้เดิมเป็นเพียงศาลไม่มีเสาหลักเมือง มีมานานกว่าร้อยปี
เมื่อปี พ.ศ. 2411 กรมศิลปากรได้ออกแบบสร้างศาลเมืองใหม่ เสาหลักเมืองเป็นไม้ชัยพฤกษ์มาจากนายประสิทธิ์ มณีกาญจน์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจบุรีเป็นเสาไม้สูง 3 เมตร วัดโดยรอบเสาได้ 1 เมตร ทำพิธี... ดูเพิ่มเติม
เมื่อปี พ.ศ. 2411 กรมศิลปากรได้ออกแบบสร้างศาลเมืองใหม่ เสาหลักเมืองเป็นไม้ชัยพฤกษ์มาจากนายประสิทธิ์ มณีกาญจน์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจบุรีเป็นเสาไม้สูง 3 เมตร วัดโดยรอบเสาได้ 1 เมตร ทำพิธี... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองนี้ ตั้งอยู่ บนถนนศรีณรงค์ ทางทิศใต้ของทุ่งศรีเมือง และอยู่ทางทิศเหนือของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี เริ่มการก่อสร้างเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2515 และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีเปิด เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2519
แต่เดิมนับตั้งแต่สร้างเมืองอุบลร... ดูเพิ่มเติม
แต่เดิมนับตั้งแต่สร้างเมืองอุบลร... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง จังหวัดอำนาจเจริญตั้งอยู่ที่ สวนมิ่งเมืองเฉลิมพระเกียรติ ตำบลบุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ ซึ่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามกุฎราชกุมาร ได้ทรงเสด็จพระราชดำเนินเปิดศาลหลักเมือง เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2544 หลักเมืองเพื่อทรงพระสุหร่ายและทรงเจิมในวันเสาร์ที่ 27 ม.ค. 2544 ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา กรุงเทพมหานคร การจัดสร้างศาลหลักเมือง เป็นการสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของบรรพบุรุษแ...
ดูเพิ่มเติม
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของหลักเมือง ลักษณะเป็นแบบทรงไทยจัตุรมุข กว้าง 4 เมตร ยาว 7 เมตรมีมุขยื่นออกมา ด้านละ 2 เมตร สูงจากฐานถึงยอดหลังคา 8.45 เมตร บริเวณรอบตัวอาคารเป็นระเบียงยกพื้นสูง 0.85 เมตร โดยตามธรรมเนียมพิธีของศาสนาพราหมณ์ว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ลักษณะเสา เสากลมเกลี้ยงยอดทรงพุ่...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองจังหวัดนครพนม สร้างขึ้นตามความเชื่อในประเพณีโบราณ เกี่ยวกับการสร้างบ้านแปงเมือง จะต้องทำพิธีเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น พิธีดังกล่าวคือ การยกเสาหลักเมืองของเมือง โดยใช้ไม้จากต้นกันเกราซึ่งเป็นต้นไม้ประจำจังหวัดนครพนม (ไม้มันปลา) ซึ่งเป็นไม้มงคล เพื่อเป็นหลักชัยทางจิตใจว่าบ้านเมืองที่สร้างขึ้นนั้นมีรากบานฝังไว้แน่นหนาถาวร
ศาลหลักเมืองนครพนมแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อป... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองนครพนมแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อป... ดูเพิ่มเติม
ประวัติความเป็นมา ผู้เรียบเรียงประวัติของเจ้าแม่สองนาง ได้เขียนได้ดังนี้ ตามที่ได้รับฟังคำบอกเล่าจากผู้เฒ่ามาคือ พ่อตู้จ้ำนาค สุริยะกาญจน์ (จ้ำ หมายถึง คนดูแลศาลเจ้า) และพ่อตู้เฮือง ผิวเฟื่อง (ปัจจุบันอยู่คุ้มเหนือ) เล่าว่า เมื่อปี พ.ศ. 2137 เกิดศึกฮ่อ ได้ขับไล่คนไทยออกจากลุ่มแม่น้ำโขง ลงมาทางตอนใต้ พวกเผ่าพันธุ์ไทยเดิมก็อพยพลงมาตามแม่น้ำโขง มาปักหลักอยู่หลายแห่ง แบ่งกันอยู่คนละมุมตามลุ่มแม่น้ำโขง...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองหนองคายก่อสร้างขึ้นด้วยความร่วมมือร่วมใจของบรรดาข้าราชการ พ่อค้า คหบดี ประชาชนจังหวัดหนองคาย เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และเป็นอนุสรณ์แห่งความสามัคคี เริ่มทำพิธีพลีไม้เสาหลักเมือง เมื่อวันที่ 8 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2542 ตรงกับวันแรม 11 ค่ำ เดือน 8 ปีเถาะ ฤกษ์เวลา 09 นาฬิกา 39 นาที
องค์ศาลจะแบ่งเป็นชั้นล่างเก็บของและส่วนบำรุงรักษา ชั้นบนเป็นส่วนที่ติดตั้งศาลหลักเมือง มีเครื่องยอดของอาคาร... ดูเพิ่มเติม
องค์ศาลจะแบ่งเป็นชั้นล่างเก็บของและส่วนบำรุงรักษา ชั้นบนเป็นส่วนที่ติดตั้งศาลหลักเมือง มีเครื่องยอดของอาคาร... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองอุดรธานี ตั้งอยู่บริเวณทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ถือเป็นสถานที่สำคัญในการดำรงและสืบสันติสุขของประชาราษฎร์จังหวัดอุดรธานี
ศาลหลักเมืองเดิมได้รับความร่วมมือจากข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนในสมัย นายจินต์ รักการดี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ทำการวางศิลาฤกษ์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2502 ในช่วง 39 ปี ที่ผ่านมาศาลหลักเมืองเดิมได้มีสภาพชำรุดทรุดโทรม จึงมีการปรับปรุงสร้างศาลาหลังใ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองเดิมได้รับความร่วมมือจากข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนในสมัย นายจินต์ รักการดี เป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ทำการวางศิลาฤกษ์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2502 ในช่วง 39 ปี ที่ผ่านมาศาลหลักเมืองเดิมได้มีสภาพชำรุดทรุดโทรม จึงมีการปรับปรุงสร้างศาลาหลังใ... ดูเพิ่มเติม
เดิมแท้อยู่บ้านโนนเมือง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ซึ่งอยู่ห่างจากตัวอำเภอชุมแพ เป็นระยะทาง 1 ก.ม. บริเวณโดยรอบเป็นเนินดินสูงมีพื้นที่ประมาณ 20 ไร่ ล้อมรอบด้วยคลองสองชั้นมีสะพานข้ามและมีทางเข้าออกทางเดียว ชาวอำเภอชุมแพ เรียกพื้นที่ตรงนี้ว่า "กู่” ก่อนจะไปถึงกู่จะมีรูปพระนอนสลักลงบนหิน ปัจจุบันบริเวณนี้เป็นวัดป่า
เมื่อปี พ.ศ.2498 ประมาณเดือน 4 ได้มีคนแก่มากราบเรียนท่านเจ้าคุณ พระราชสารธ... ดูเพิ่มเติม
เมื่อปี พ.ศ.2498 ประมาณเดือน 4 ได้มีคนแก่มากราบเรียนท่านเจ้าคุณ พระราชสารธ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองกาฬสินธุ์ เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองกาฬสินธุ์ มีใบเสมาหินโบราณสลักลายสวยงาดมให้ชมด้วย
ประวัติ จากประวัติการสร้างเมืองระบุว่า มีหลักเมืองระบุว่า มีหลักเมืองโบราณเป็นหลักไม้ประดู่ กว้าง 8 นิ้ว หนา 7 นิ้ว สุง 36 นิ้ว รายรอบมีก้อนหิน 12 ก้อน ลงยันต์ตรีนิสิงเห (มนต์คาถาอย่างหนึ่งที่แพร่หลายในพม่าและเขมร) ปักอยู่ ต่อมา พ.ศ. 2479 มีการบูรณะนำโดยเจ้าคุณธราจารย์กาฬสินธุ์บริหารสังฆปราโมกข์ ... ดูเพิ่มเติม
ประวัติ จากประวัติการสร้างเมืองระบุว่า มีหลักเมืองระบุว่า มีหลักเมืองโบราณเป็นหลักไม้ประดู่ กว้าง 8 นิ้ว หนา 7 นิ้ว สุง 36 นิ้ว รายรอบมีก้อนหิน 12 ก้อน ลงยันต์ตรีนิสิงเห (มนต์คาถาอย่างหนึ่งที่แพร่หลายในพม่าและเขมร) ปักอยู่ ต่อมา พ.ศ. 2479 มีการบูรณะนำโดยเจ้าคุณธราจารย์กาฬสินธุ์บริหารสังฆปราโมกข์ ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองร้อยเอ็ด มีประวัติความเป็นตั้งแต่สมัยพุทธกาลมาจนถึงปัจจุบัน ในอดีตกาลเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองและรกร้างสลับกันมา จนถึง พ.ศ. 2525 ได้ตั้งเป็นมณฑลร้อยเอ็ด นับตั้งแต่มณฑลร้อยเอ็ดขึ้น ปรากฎมีหลักเมืองอยู่ใจกลางบึงพลาญชัย (ใกล้กับสระบริสุทธิ์) มักมีน้ำตลอดมา ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่า ลักษณะเป็นเสาไม้แก่น กลม ตอนปลายมนยาวประมาณเมตรเศษ เดิมอยู่ในแอ่งน้ำกลางบึง ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2496 -2471 สมัย...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง ตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2408 เมื่อท้าวมหาชัย เจ้าเมืองมหาสารคามคนแรกได้รวบรวมไพล่พลจากจังหวัดร้อยเอ็ดมาตั้งเมืองใหม่ ได้สร้างศาลหลักเมืองและอัญเชิญเจ้าหลักเมืองมาประทับ เพื่อเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ถือว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เคารพสักการะของชาวจังหวัดมหาสารคาม ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือมาก
ศาลหลักเมืองมหาสารคาม อยู่ติดถนนครสวรรค์ หน้าโรงเรียนหลักเมืองซึ่งเป็นถนนสายหล... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองมหาสารคาม อยู่ติดถนนครสวรรค์ หน้าโรงเรียนหลักเมืองซึ่งเป็นถนนสายหล... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อพญาแล ตั้งอยู่ริมหนองปลาเฒ่า เป็นโบราณสถานศักดิ์สิทธิ์ ที่ริมน้ำแห่งนี้มีต้นมะขามใหญ่ซึ่งกล่าวกันว่าเจ้าพญาแลถูกทหาร เวียงจันทร์ ฆ่าที่นี่ เมื่อปี พ.ศ. 2369
มีศาลสร้างด้วยไม้ตั้งอยู่ใต้ต้นมะขาม ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ชาว จังหวัดชัยภูมิได้พร้อมใจกันสร้างศาลพระยาภักดีชุมพล ขึ้นประดิษฐานรูปหล่อของท่านไว้ภายใน เพื่อเป็น ที่เคารพสักการะบูชาของชาวเมืองชัยภูมิ ได้มีการสักการะพ่อพระยาแลทุกปี โ... ดูเพิ่มเติม
มีศาลสร้างด้วยไม้ตั้งอยู่ใต้ต้นมะขาม ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ชาว จังหวัดชัยภูมิได้พร้อมใจกันสร้างศาลพระยาภักดีชุมพล ขึ้นประดิษฐานรูปหล่อของท่านไว้ภายใน เพื่อเป็น ที่เคารพสักการะบูชาของชาวเมืองชัยภูมิ ได้มีการสักการะพ่อพระยาแลทุกปี โ... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อกุดป่องและศาลหลักเมือง ตั้งอยู่ห่างจากวงเวียนน้ำพุประมาณ 100 เมตร ติดกับสวนสาธารณะกุดป่อง เป็นศาลเก่าแก่ที่ประชาชนเคารพนับถือและเชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตของดวงวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ สำหรับศาลหลักเมือง สร้างเมื่อ พ.ศ.2525 เสาหลักเมืองทำด้วยไม้ราชพฤกษ์ แกะสลักเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑน์ ลงรักปิดทองทั้งองค์ มีความสูง 139 ซ.ม....
ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองเพชรบูรณ์ อยู่ที่ถนนหลักเมือง ใจกลางเมืองเพชรบูรณ์ เสาหลักเมืองเป็นเสาหินที่สมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพทรงนำมาจากเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์เมื่อปี พ.ศ 2447 เมืองศรีเทพเป็นเมืองโบราณแบบทวารวดีและขอม คาดว่ามีอายุตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 11-12 ลงมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 17-18 จังนับว่าเป็นเสาหลักเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย อยู่เยื้องตรงข้ามหอวัฒนธรรมนครบาลเพชรบูรณ์...
ดูเพิ่มเติม
เสาอินทขิล เมื่อปีพ.ศ. 1839 ปัจจุบันนี้อยู่ตรงหน้าวัดเจดีย์หลวงเสาอินทขิลนี้ประดิษฐานอยู่ในวิหารจตุรมุขทรงไทยหลังเล็กๆหลักอินทขิลนี้สร้างด้วยไม้ซุงต้นใหญ่ฝังอยู่ใต้ดินทุกปีในเดือนพฤษภาคมจะมีงานเรียกว่าเข้าอินทขิลเป็นการฉลองหลักเมือง
ตำนานเสาอินทขิล (ย่อ)
ตำนานอินทขิลหรือตำนานสุวรรณคำแดงที่พระมหาหมื่นวุฑฒิญาโณ วัดหอธรรม เชียงใหม่ เล่าความเป็นมาของเสาอินทขิลไว้ว่า บริเวณที่ตั้งเมืองเชียงใหม่ศูนย์กลา... ดูเพิ่มเติม
ตำนานเสาอินทขิล (ย่อ)
ตำนานอินทขิลหรือตำนานสุวรรณคำแดงที่พระมหาหมื่นวุฑฒิญาโณ วัดหอธรรม เชียงใหม่ เล่าความเป็นมาของเสาอินทขิลไว้ว่า บริเวณที่ตั้งเมืองเชียงใหม่ศูนย์กลา... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ตรงบริเวณเชิงเขากบ เริ่มการก่อสร้างในสมัยที่นายวิทยา เกษรเสาวภาค เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ อาคารศาลและหลักเมืองออกแบบโดยกรมศิลปากร สร้างขึ้นด้วยเงินบริจาคของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นเงินทั้งสิ้น 450,000 บาท
นายช่างผู้แทนกรมศิลปากร และสำนักผังเมือง เป็นผู้พิจารณาเลือกสถานที่ เริ่มทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2516 และทำการก่อสร้าง... ดูเพิ่มเติม
นายช่างผู้แทนกรมศิลปากร และสำนักผังเมือง เป็นผู้พิจารณาเลือกสถานที่ เริ่มทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2516 และทำการก่อสร้าง... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ราชบุรี ถือได้ว่าเป็นสิ่งศักสิทธ์คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดราชบุรี ชาวจังหวัดราชบุรีนิยมไปกราบไหว้อยู่เสมอ ทางฝ่ายทหาร และฝ่ายบ้านเมืองจึงได้จัดงานสักการะขึ้น ในทุกเดือนเมษายนของทุกปี โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เป็นงานสมโภชเจ้าพ่อหลักเมือง และเพื่อเปิดโอกาสให้บุลคลทั่วไป ได้มาปิดทองหลังพระ และสรงน้ำ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ของไทย
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง อยู่ในบริเวณกรมการทหารช่าง... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง อยู่ในบริเวณกรมการทหารช่าง... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง เป็นปูชนียสถานที่สำคัญยิ่งของจังหวัดปทุมธานี เป็นที่ประดิษฐานเจ้าพ่อหลักเมือง ซึ่งเป็นที่เคารพ สักการะของชาวจังหวัดปทุมธานี ศาลหลักเมืองนี้ตั้งอยู่บริเวณทางเข้าศาลากลางจังหวัด สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2520 เป็นศาลาแบบจตุรมุขยอดกลาง มีลักษณะคล้ายก้านดอกบัวหลวง เหนือขึ้นไปเป็นฐานกลีบบัวรองรับมณฑป ภายในมณฑปประดิษฐานหลักเมือง และมีรูปหล่อพระนารายณ์สี่กรทรงเหนือหลังนกฮูกและพระวิษ...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองของอำเภอพระประแดง มีขึ้นตั้งแต่ครั้งที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าให้สร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ ในปี พ.ศ. 2358 โดยสร้างเป็นศาลประจำเมือง พร้อมทั้งกระทำพิธีฝังอาถรรพ์เสาหลักเมือง เมื่อวันศุกร์ เดือน 7 แรม 10 ค่ำ ปีกุล พ.ศ. 2358
ตั้งอยู่ที่ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง สมุทรปราการ เป็นหลักเมืองเก่าของอำเภอพระประแดง ในสมัยเมื่ออำเภอนี้มีฐา... ดูเพิ่มเติม
ตั้งอยู่ที่ตำบลตลาด อำเภอพระประแดง สมุทรปราการ เป็นหลักเมืองเก่าของอำเภอพระประแดง ในสมัยเมื่ออำเภอนี้มีฐา... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง จ.พระนครศรีอยุธยา การสร้างศาลหลักเมืองตามประเพณีโบราณที่นิยมสร้างหลักเมืองไว้ เป็นมิ่งขวัญ เป็นนิมิตมงคล สำหรับให้รู้ว่าหลักบ้านหลักเมืองมีอยู่ที่ไหน บ้านเมืองนั้นย่อมร่มเย็นเป็นสุข หลักเมืองต้องฝังไว้ในย่านกลางเมือง หรือในทำเลที่เป็นชัยภูมิ ตามทิศทางของเมือง และในสมัยโบราณนั้นเมืองเอกหรือเมืองชั้นราชธานี ย่อมมีฝังหลักเมืองไว้เป็นนิมิตมงคลสำหรับเมืองทุกเมือง
จุลภัสสร พนมวัน ณ อยุ... ดูเพิ่มเติม
จุลภัสสร พนมวัน ณ อยุ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองกำแพงเพชร ตั้งอยู่บริเวณวัดพระแก้ว และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติฯ เมืองกำแพงเพชร เป็นเมืองที่มีนามอันเป็นมงคล หมายถึง ความมั่นคง ประดุจเป็นเมืองที่มีทำด้วยเพชร ศาลหลักเมืองกำแพงเพชรจึงเป็นสิ่งที่พ้องกับความมั่นคงไม่หวั่นไหว จึงเหมาะสำหรับขอพรเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย อาชีพ ของหาย ของรัก ฯลฯ ศาลหลักเมืองกำแพงเพชร สันนิษฐานว่า สร้างสมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ที่เคยปกครองดูแลเมืองกําแพงเพ...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองสี่มหาราช ตั้งอยู่ที่บ้านปากร้อง หมู่ที่ 6 ตำบลป่ามะม่วง อำเภอเมือง บริเวณเชิงสะพานกิตติขจร ก่อนเข้าตัวเมืองตาก ถูกสร้างขึ้นในปีพ.ศ.2535 เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของเหล่าอดีตมหาราชทั้ง4 ได้แก่ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์เมืองตากเป็นเมืองเ...
ดูเพิ่มเติม
32
ศาลพระแม่ย่า
เสาหลักเมือง พิษณุโลก ประดิษฐานอยู่ภายในศาลหลักเมือง ริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันตก ใกล้กับศาลากลาง จ.พิษณุโลก ออกแบบอาคารโดยกรมศิลปากร เป็นแบบยอดปรางค์ เสาหลักเมืองทำจากไม้มงคลหลายชนิด คือ จากโคนลำต้นถึงลูกฟัก ทำจากไม่ราชพฤกษ์ ท่อนลูกแก้วท่อนบนทำจากไม้ชิงชัน ส่วนยอดบัวตูมประกอบด้วยลูกแก้วทำจากไม้สักทองตายพราย และได้นำไปเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่กรุงเทพฯ
เสาหลักเมืองจังหวัดพิษณุโลก เป... ดูเพิ่มเติม
เสาหลักเมืองจังหวัดพิษณุโลก เป... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองแพร่ เมื่อปีพ.ศ.1387ขุนหลวงพล เป็นเจ้าหลวงผู้ครองเมืองแพร่ซึ่งมีชื่อว่าเมืองพล หรือ พลรัฐนคร เป็นชื่อดั้งเดิมของเมืองแพร่ ในสมัยที่ก่อสร้างเมืองขึ้นคร้งแรก บางครั้งเรียกว่า พลนคร ชื่อพลนครปัจจุบันมีปรากฎเป็นชื่อ วิหารในวัดหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ ซึ่งวัดหลวงเป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างมาพร้อมกับการสร้างเมืองแพร่ เป็นวัดที่เจ้าเมืองแพร่ให้ความอุปถัมภ์มาโดยตลอดจนหมดยุคเจ้าเมือ...
ดูเพิ่มเติม
วัดมิ่งเมือง เดิมเป็นวัดร้าง บูรณะโดยเจ้าอนันตวรฤทธิเดช ผู้ครองนครน่าน ในราวปีพ.ศ.2400 หลักๆภายในวัดประกอบด้วย พระประธาน ซึ่งเป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ลงรักปิดทองทั้งองค์ เป็นศิลปะเชียงแสน มีอายุถึง 400 กว่าปี อีกทั้งยังมีเจดีย์ เป็นปูชนียสถานเก่าแก่พอๆกับตัววัด และอุโบสถที่มีลายปูนปั้นที่ผนังด้านนอกของพระอุโบสถ เป็นฝีมือตระกูลช่างเชียงแสน มีภายในจิตรกรรมฝาผนังเล่าตำนานการสร้างเมืองน่าน ซึ่...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองพะเยา หรือ เสาหลักเมืองจังหวัดพะเยา เดิมพะเยา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ.2520 เพื่อเป็นศิริมงคลแก่บ้านเมือง จึงได้สร้างศาลหลักเมือง ครั้งแรก เมื่อพ.ศ.2520 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ มาสร้างสำเร็จในปี พ.ศ. 2530 แต่ต้องย้ายสถานที่สร้าง แต่คงอยู่ที่ตำบลเวียง อำเภอเมืองศาลหลักเมืองพะเยา
ศาลหลักเมือง ตั้งอยู่ริมถนนท่ากว... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง ตั้งอยู่ริมถนนท่ากว... ดูเพิ่มเติม
วัดกลางเวียง คือวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเวียงเชียงราย สร้างขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1975 เดิมชาวบ้าน เรียกว่า วัดจั๋นตะโลก หรือ วัดจันทน์โลก เพราะในวัดเคยมีต้นจันทน์แดงขนาดใหญ่ขึ้นอยู่ ถือเป็นไม้มงคลใช้บูชาพระตามธรรมเนียมโบราณ และมีเสาหลักเมืองเชียงรายตั้งอยู่
จนกระทั่งเมื่อมีการรังวัดเมืองเชียงรายใหม่ และพบว่าวัดแห่งนี้อยู่ใจกลางเมืองพอดี จึงได้สถาปนาสะดือเวียง หรือ เสาหลักเมืองขึ้น พร้อมกับเปลี่ยน... ดูเพิ่มเติม
จนกระทั่งเมื่อมีการรังวัดเมืองเชียงรายใหม่ และพบว่าวัดแห่งนี้อยู่ใจกลางเมืองพอดี จึงได้สถาปนาสะดือเวียง หรือ เสาหลักเมืองขึ้น พร้อมกับเปลี่ยน... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ลำปาง ตั้งอยู่บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัดลำปางด้านตะวันตกเฉียงใต้ หลักเมืองทำด้วยไม้สัก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อร้อยกว่าปีมาแล้ว และยังเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อดำ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธื์ของชาวจังหวัดลำปาง
โดยภายในศาลหลักเมือง จะมีหลักเมืองอยู่ 3 ต้น แต่ละต้นเป็นเสาไม้เนื้อแข็งขนาดหนึ่งคนโอบถากปลายแหลม ประดิษฐานอยู่ตามมุมต่างๆ ซื่งทั้งสามต้นจะมีประวัติความเป็มาต่างกัน ดังนี้
เสา... ดูเพิ่มเติม
โดยภายในศาลหลักเมือง จะมีหลักเมืองอยู่ 3 ต้น แต่ละต้นเป็นเสาไม้เนื้อแข็งขนาดหนึ่งคนโอบถากปลายแหลม ประดิษฐานอยู่ตามมุมต่างๆ ซื่งทั้งสามต้นจะมีประวัติความเป็มาต่างกัน ดังนี้
เสา... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองจ.อ่างทอง เป็นหลักชัยและหลักใจของประชาชน เป็นศูนย์รวมแห่งความร่วมมือร่วมใจกันด้วยความศรัทธาความสามัคคี
ศาลหลักเมืองเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสถานที่สิงสถิตของเทพารักษ์ พระเสื้อเมือง และพระทรงเมือง ซึ่งจะปกป้องรักษาและปัดเป่าภัยพิบัติต่าง ๆ เพื่อให้บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองและประชาชนอยู่ร่มเย็นเป็นสุข ในจังหวัดหนึ่ง ๆ มีศาลหลักเมืองเพียงแห่งเดียว การสร้างศาลหลักเมืองจะต้องได้... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นสถานที่สิงสถิตของเทพารักษ์ พระเสื้อเมือง และพระทรงเมือง ซึ่งจะปกป้องรักษาและปัดเป่าภัยพิบัติต่าง ๆ เพื่อให้บ้านเมืองมีความเจริญรุ่งเรืองและประชาชนอยู่ร่มเย็นเป็นสุข ในจังหวัดหนึ่ง ๆ มีศาลหลักเมืองเพียงแห่งเดียว การสร้างศาลหลักเมืองจะต้องได้... ดูเพิ่มเติม
ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสุพรรณบุรี (แม่น้ำท่าจีน) ห่างจากฝั่งแม่น้ำไปตามถนนมาลัยแมน เดิมเป็นศาลไม้ทรงไทยมีเทวรูปพระอิศวรและพระนารายณ์สวมหมวกเติ๊ก(หมวกทรงกระบอก) สลักด้วยหินสีเขียวปัจจุบันได้สร้างศาลเป็นรูปวิหารและเก๋งจีนเจ้าพ่อหลักเมืองนี้เป็นพุทธประติมากรรมสลักบนแผ่นหินแบบนูนต่ำในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน แบบศิลปเขมรอายุราว พ.ศ.1185–1250 หรือประมาณ 1,300 1,400 ปีมาแล้ว มีพระน...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองสมุทรสาคร เดิมเมืองสมุทรสาครมีแต่ศาลเจ้าหลักเมือง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า ศาลเทพเจ้าจอมเมือง ตั้งอยู่บริเวณต้นศรีมหาโพธิ ด้านหลังที่ว่าการอำเภอหลังเก่า ปัจจุบันไม่มีแล้ว
การสร้างศาลหลักเมืองสมุทรสาครแทนศาลเดิม เกิดเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2460-2461 โดยเจ้าเมืองสมุทรสาคร นายอำเภอเมือง ฯ และกำนันตำบลท่าฉลอม ในปี พ.ศ.2524
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกับ... ดูเพิ่มเติม
การสร้างศาลหลักเมืองสมุทรสาครแทนศาลเดิม เกิดเมื่อประมาณ ปี พ.ศ.2460-2461 โดยเจ้าเมืองสมุทรสาคร นายอำเภอเมือง ฯ และกำนันตำบลท่าฉลอม ในปี พ.ศ.2524
ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกับ... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองเพชรบุรี ได้รับการออกแบบโดยกรมศิลปากร สร้างด้วยไม้ชัยพฤกษ์จากบ้านลิ้นช้าง อำเภอหนองหญ้าปล้อง และวัดเขาลูกช้าง อำเภอท่ายาง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.50 เมตร สูง 2.70 เมตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงพระสุหร่ายและเจิมเสาหลักเมืองเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2520...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง จ.ประจวบคีรีขันธ์ สร้างขึ้นมาในสมัย ร.ต.อำนวย ไทยานนท์ เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ทรงเปิดศาลหลักเมืองนี้ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2537 เพื่อให้เป็นสิริมงคล และเป็นหลักชัยคู่บ้าน คู่เมืองสืบไป...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองชุมพร ตั้งอยู่หน้าสำนักงานเทศบาลเมืองชุมพร เป็นที่ประดิษฐานเสาหลักเมือง โดยมีวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างศาลหลักเมืองชุมพร ก็เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญุตาคุณแก่แผ่นดิน บ้านเกิดเมืองนอน และยังเป็นสัญลักษณ์ของการสร้างบ้านเมือง เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวชุมพร
การจัดสร้างศาลหลักเมืองชุมพรนั้น ได้ใช้แบบตามที่กรมศิลปากรกำหนดตามจารีตประเพณี โดยเป็นเสาไม้แกะสลักลวดลายไทย ลงรักปิดทอง สมเด็จ... ดูเพิ่มเติม
การจัดสร้างศาลหลักเมืองชุมพรนั้น ได้ใช้แบบตามที่กรมศิลปากรกำหนดตามจารีตประเพณี โดยเป็นเสาไม้แกะสลักลวดลายไทย ลงรักปิดทอง สมเด็จ... ดูเพิ่มเติม
ในอดีตเคยเป็นบ้านพักเก่าของพระยารัตนเศรษฐี เจ้าเมืองระนอง ศาลหลักเมืองมีลักษณะเป็นศาลาจัตุรมุขทรงไทย มียอดศาลาตามลักษณะภูมิสถาปัตย์พระธาตุไชยาจำนวนห้ายอด มีความสูงถึงยอด 13.60 เมตร ตัวศาลมีขนาดกว้างยาวด้านละ 6 เมตร มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2533 และมีการบวงสรวงทุกปี ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ของทุกปี จะมีการบวงสรวงโดยพรามณ์ จากสำนักพระราชวังเป็นผู้ประกอบพิธี ซึ่งในแต่ละปีมีประชา...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองสุราษฎร์ธานี สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2539 เพื่อเป็นการสักการะและเฉลิมพระเกีรติ เนื่องในวโรกาศที่พระบาทสมเด็จพระเข้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงครองราชสมบัติครบ 50 ปี และเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวประชาชนชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ตัวองค์ศาลหลักเมืองประกอบด้วยเจดีย์ประมาณเป็นรูประฆังคว่ำ มีเจดีย์บริวารเป็นรูประฆังคว่ำ 4 มุมลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้นๆ อีก 2 ชั้น มุมฐานเจดีย์ทั้ง 4 มุม ตก... ดูเพิ่มเติม
ตัวองค์ศาลหลักเมืองประกอบด้วยเจดีย์ประมาณเป็นรูประฆังคว่ำ มีเจดีย์บริวารเป็นรูประฆังคว่ำ 4 มุมลดหลั่นกันลงมาเป็นชั้นๆ อีก 2 ชั้น มุมฐานเจดีย์ทั้ง 4 มุม ตก... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง บ้านเมืองใหม่ ตั้งอยู่บนถนนเทพกระษัตรีขาเข้าเมืองภูเก็ต บริเวณบ้านเมืองใหม่ อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ใกล้กับทางเข้าสนามบิน เส้นทางหลักเข้าตัวเมือง ริมถนนเทพกระษัตรี ทางเดินปูด้วยหินอ่อน ด้านในศาลามีเสาหลักเมืองวางไว้ ด้านนอกมีจุดให้ไหว้ สักการะ กราบไหว้บูชา
เดิมที่แห่งนี้เป็นบริเวณท่าเรือ ได้สร้างศาลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2352 แต่ปัจจุบันเป็นเสาที่สร้างขึ้นมาใหม่ โดยการนำเสาให... ดูเพิ่มเติม
เดิมที่แห่งนี้เป็นบริเวณท่าเรือ ได้สร้างศาลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 พ.ศ. 2352 แต่ปัจจุบันเป็นเสาที่สร้างขึ้นมาใหม่ โดยการนำเสาให... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองกระบี่ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ อยู่ในบริเวณเดียวกันกับศาลากลางจังหวัด สามารถจดรถได้ที่ด้านในศาลากลางจังหวัด บริเวณศาลหลักเมืองมีพื้นประมาณหนึ่ง มีการจัดตกแต่งสวนรอบๆ ทำให้ดูสวยงาม สะอาดตา ศาลหลักเมืองกระบี่แห่งนี้นับได้ว่าเป็นที่รวมยึดเหนี่ยวจิตใจ และแสดงถึงความสามัคคีของชาวกระบี่ ที่มาเคารพสักการะ เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว
... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมือง นครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช เป็นสถานที่ศักสิทธิ์อันเป็นที่เคารพของประชาชนทั่วไป คอยดูแลปกปักษ์รักษาบ้านเมืองให้พ้นภัย มีเนื้อที่ประมาณ2ไร่ ประกอบไปด้วยอาคาร5หลัง อาคารสีขาวทรงสวยสะดุดตา สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานหลักเมืองซึ่งตั้งอยู่ในอาคารหลังกลาง ตัวอาคารถูกออกแบบให้มีลักษณะคล้ายศิลปะศรีวิชัยหรือเรียกว่า”ทรงเหมราชลีลา” องค์เสาหลักเมืองทำด้วยไม้ตะเ...
ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองตรัง (Trang's City Pillar) ตั้งอยู่บริเวณถนนสายเก่า สายตรัง-กันตัง ต.ควนธานี อ.กันตัง จ.ตรัง อยู่ห่างจากตัวเมืองออกมาประมาณ 8 กิโลเมตร ด้านหน้ามีจำหน่ายชุดบูชา ดอกไม้ธูปเทียน ผ้าสามสี ให้ได้กราบไว้สักการะเพื่อเป็นสิริมงคล บรรยากาศโดยรอบร่มรื่น สวย สะอาด
ประวัติ
เมืองตรังในสมัยโบราณเป็นหนึ่งในเมือง 12 นักษัตรของนครศรีธรรมราช และเป็นเมืองท่าสำคัญทางฝั่งทะเลตะวันตก ครั... ดูเพิ่มเติม
ประวัติ
เมืองตรังในสมัยโบราณเป็นหนึ่งในเมือง 12 นักษัตรของนครศรีธรรมราช และเป็นเมืองท่าสำคัญทางฝั่งทะเลตะวันตก ครั... ดูเพิ่มเติม
ศาลหลักเมืองสงขลา ตั้งอยู่ที่ถนนนางงาม ชาวสงขลาเรียกว่า "ศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสงขลา" เป็นที่เคารพสักการะของชาวสงขลาตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน สร้างขึ้นมาพร้อมกับการสร้างเมืองสงขลา อันทำให้บ้านเมืองในละแวกใกล้เคียงมีรูปทรงแบบสถาปัตยกรรมจีน...
ดูเพิ่มเติม