หมุดโลก เขาสะแกกรัง
3476
หมุดโลก หรือชื่อในภาษาทางการ ว่าหมุดศูนย์กำเนิดพื้นหลักฐาน เขาสะแกกรัง มีหน้าที่ไว้จัดทำแผนที่ดาวเทียม ที่ทุกวันนี้เรามีใช้กัน พื้นหลักฐาน Indian1975
หมุดโลก หรือชื่อในภาษาทางการ ว่าหมุดศูนย์กำเนิดพื้นหลักฐาน เขาสะแกกรัง มีหน้าที่ไว้จัดทำแผนที่ดาวเทียม ที่ทุกวันนี้เรามีใช้กัน พื้นหลักฐาน Indian1975
ปี พ.ศ.2518 องค์การแผนที่ กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา (Defense Mapping Agency Hydrographic/Topographic Center : DMAHTC) ได้ทำการปรับแก้และย้ายศูนย์กำเนิดของพื้นหลักฐานจากเขากะเลียนเปอร์ ประเทศอินเดีย มาเป็นที่เขาสะแกกรัง จ.อุทัยธานี การปรับแก้ครั้งนี้ใช้เทคนิคการรังวัดจากดาวเทียมดอปเปลอร์จำนวน 9 สถานี ซึ่งตำแหน่งสัมพัทธ์ที่ได้จากการรังวัดดาวเทียมดอปเปลอร์ มีความถูกต้องสูงกว่าที่ได้จากงานโครงข่ายสามเหลี่ยม เป็นจุดควบคุมโครงข่ายสามเหลี่ยมซึ่งประกอบด้วย จำนวนหมุดสามเหลี่ยมทั้งสิ้น 426 สถานี เรียกผลลัพธ์จากการปรับแก้โครงข่ายสามเหลี่ยมในครั้งนี้ว่า พื้นหลักฐาน Indian1975 มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้
จุดศูนย์กำเนิดพื้นหลักฐาน เขาสะแกกรัง(หมุดสามเหลี่ยมหมายเลข91)
ละติจูด 15 o 22’ 56”.0487 เหนือ
ลองจิจูด 100 o 00’ 59”.1906 ตะวันออก
ความสูงเหนือพื้นยีออย -22.46 เมตร
รูปทรงรี เอเวอร์เรสท์ 1830
หมุดแผนที่โลก บนยอดเขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี อยู่ห่างจากพลับพลาอนุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งรัชกาลที่ ๑ ประมาณ ๕๐๐ เมตร สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยการสกัด เป็นวงกลมลงบนหิน เป็นหมุดแผนที่ ซึ่งเป็น ๑ใน ๓ ของหลักหมุดของโลกในทวีปเอเซีย จุดที่ ๑ จากจุดศูนย์กำเนิด หลักหมุดที่ ๙๐ อยู่ที่เขากาเรียนเปอร์ ประเทศอินเดีย จุดที่ ๒ หลักหมุดที่ ๙๑ อยู่ที่เขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จุดที่ ๓ หลักหมุดที่ ๙๒ อยู่ที่ประเทศเวียตนาม ใช้สำหรับคำนวณ และแบ่งแนวเขต เพื่อลงพิกัดแผนที่โลก เป็นหลักฐานสำคัญในการสำรวจแผนที่ทางการทหาร มีลักษณะ เป็นแท่งคอนกรีตทรงสี่เหลี่ยม เป็นกรอบคร่อมทับจุดของที่ตั้งหมุดแผนที่ สำหรับค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ ที่กรมแผนที่ทหาร ใช้ในการกำหนดตำแหน่งของหมุดหลักฐานเขาสะแกกรัง ได้แก่ ละติจูด ๑๕ องศา ๒๒ ลิปดา ๕๖.๐๔๘๗ ฟิลิปดาเหนือ ลองติจูด ๑๐๐ องศา ๐ ลิปดา ๕๙.๑๙๐๖ ฟิลิปดาตะวันออก มีกำหนดสูง ๑๔๐.๙๘ เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
ภาพ : A&J Kuarmit
ที่มา : uthai-thani.com
หมุดโลก หรือชื่อในภาษาทางการ ว่าหมุดศูนย์กำเนิดพื้นหลักฐาน เขาสะแกกรัง มีหน้าที่ไว้จัดทำแผนที่ดาวเทียม ที่ทุกวันนี้เรามีใช้กัน พื้นหลักฐาน Indian1975
ปี พ.ศ.2518 องค์การแผนที่ กระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา (Defense Mapping Agency Hydrographic/Topographic Center : DMAHTC) ได้ทำการปรับแก้และย้ายศูนย์กำเนิดของพื้นหลักฐานจากเขากะเลียนเปอร์ ประเทศอินเดีย มาเป็นที่เขาสะแกกรัง จ.อุทัยธานี การปรับแก้ครั้งนี้ใช้เทคนิคการรังวัดจากดาวเทียมดอปเปลอร์จำนวน 9 สถานี ซึ่งตำแหน่งสัมพัทธ์ที่ได้จากการรังวัดดาวเทียมดอปเปลอร์ มีความถูกต้องสูงกว่าที่ได้จากงานโครงข่ายสามเหลี่ยม เป็นจุดควบคุมโครงข่ายสามเหลี่ยมซึ่งประกอบด้วย จำนวนหมุดสามเหลี่ยมทั้งสิ้น 426 สถานี เรียกผลลัพธ์จากการปรับแก้โครงข่ายสามเหลี่ยมในครั้งนี้ว่า พื้นหลักฐาน Indian1975 มีองค์ประกอบที่สำคัญดังนี้
จุดศูนย์กำเนิดพื้นหลักฐาน เขาสะแกกรัง(หมุดสามเหลี่ยมหมายเลข91)
ละติจูด 15 o 22’ 56”.0487 เหนือ
ลองจิจูด 100 o 00’ 59”.1906 ตะวันออก
ความสูงเหนือพื้นยีออย -22.46 เมตร
รูปทรงรี เอเวอร์เรสท์ 1830
หมุดแผนที่โลก บนยอดเขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี อยู่ห่างจากพลับพลาอนุสาวรีย์สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งรัชกาลที่ ๑ ประมาณ ๕๐๐ เมตร สร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยการสกัด เป็นวงกลมลงบนหิน เป็นหมุดแผนที่ ซึ่งเป็น ๑ใน ๓ ของหลักหมุดของโลกในทวีปเอเซีย จุดที่ ๑ จากจุดศูนย์กำเนิด หลักหมุดที่ ๙๐ อยู่ที่เขากาเรียนเปอร์ ประเทศอินเดีย จุดที่ ๒ หลักหมุดที่ ๙๑ อยู่ที่เขาสะแกกรัง อำเภอเมืองอุทัยธานี จุดที่ ๓ หลักหมุดที่ ๙๒ อยู่ที่ประเทศเวียตนาม ใช้สำหรับคำนวณ และแบ่งแนวเขต เพื่อลงพิกัดแผนที่โลก เป็นหลักฐานสำคัญในการสำรวจแผนที่ทางการทหาร มีลักษณะ เป็นแท่งคอนกรีตทรงสี่เหลี่ยม เป็นกรอบคร่อมทับจุดของที่ตั้งหมุดแผนที่ สำหรับค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ ที่กรมแผนที่ทหาร ใช้ในการกำหนดตำแหน่งของหมุดหลักฐานเขาสะแกกรัง ได้แก่ ละติจูด ๑๕ องศา ๒๒ ลิปดา ๕๖.๐๔๘๗ ฟิลิปดาเหนือ ลองติจูด ๑๐๐ องศา ๐ ลิปดา ๕๙.๑๙๐๖ ฟิลิปดาตะวันออก มีกำหนดสูง ๑๔๐.๙๘ เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง
ภาพ : A&J Kuarmit
ที่มา : uthai-thani.com
เขาสะแกกรัง จากบริเวณลานวัดสังกัสรัตนคีรีมีบันไดขึ้นไปสู่ยอดเขาสะแกกรัง หรือใช้ทางหลวงหมายเลข 3220 เป็นระยะทาง 4 กม. แล้วเลี้ยวบริเวณสนามกีฬาจังหวัดไปตามทางขึ้นสู่ยอดเขา จากบนยอดเขาสามารถมองเห็นทิวทัศน์เมืองอุทัยธานีได้กว้างขวาง เป็นที่ตั้งของมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจำลอง ซึ่งย้ายมาจากวัดจันทาราม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2448 ด้านหน้ามีระฆังใบใหญ่ที่พระปลัดใจและชาวอุทัยธานีร่วมกันสร้างเมื่อ พ.ศ. 2443 ถือ...
ดูเพิ่มเติม