สตูล ต้องเที่ยว
8833
รวมสถานที่ท่องเที่ยวสตูล สุดไกลชายแดนใต้ มาถึงแล้ว "ต้องเที่ยว" มาดูกันว่า นอกจากเกาะหลีเป๊ะแล้ว มีที่ไหนกันบ้าง
เกาะไข่ จ.สตูล อยู่ตรงจุดกึ่งกลางระหว่างเกาะตะรุเตา กับเกาะอาดัง มีสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคือ เป็นที่ตั้งของซุ้มประตูหินธรรมชาติ อันเป็นสัญลักษณ์ของตะรุเตา
นอกจากจะมีซุ้มประตูหินแล้ว เกาะไข่ยังมีชายหาดที่สวยงามสามด้าน คือ ด้านทิศตะวันตก ทิศตะวันออก และด้านทิศใต้ ยกเว้นด้านทิศเหนือ หรือ ด้านหลังซุ้มหิน ซึ่งเต็มไปด้วยก้อนหินระเกะระกะ แนวหาดทรายทิศตะวันตกและทิศใต้ ถูกคลื่นซัดมาพบกันที่กลางน้ำเกิดเป็นสันท... ดูเพิ่มเติม
อุทยานแห่งชาติทะเลบัน, สตูล ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 บ้านวังประจัน ตำบลควนสตอ อุทยานฯ มีเนื้อที่ทั้งหมด 196 ตร.กม. หรือ 122,000 ไร่ โดยรวมเอาเนื้อที่ของป่าสงวนแห่งชาติกุปัง ปุโล๊ต และหัวกะหมิงเข้าด้วยกัน และยังผนวกพื้นที่ป่าควนบ่อน้ำปูยู ในท้องที่ตำบลบ้านควน ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูลอุทยานฯ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 40 กม. คำว่า "ทะเลบัน" มาจากคำว่า "เลิด เรอบัน" เป็นภาษามลายูแปลว่า ทะเลยุบหรือท...
ดูเพิ่มเติม
2
เกาะไข่
นอกจากจะมีซุ้มประตูหินแล้ว เกาะไข่ยังมีชายหาดที่สวยงามสามด้าน คือ ด้านทิศตะวันตก ทิศตะวันออก และด้านทิศใต้ ยกเว้นด้านทิศเหนือ หรือ ด้านหลังซุ้มหิน ซึ่งเต็มไปด้วยก้อนหินระเกะระกะ แนวหาดทรายทิศตะวันตกและทิศใต้ ถูกคลื่นซัดมาพบกันที่กลางน้ำเกิดเป็นสันท... ดูเพิ่มเติม
เกาะตะรุเตา นับเป็นเกาะใหญ่ที่สุด คำว่า "ตะรุเตา" นี้ เพี้ยนมาจาก คำว่า "ตะโละเตรา" ในภาษามลายูแปลว่า มีอ่าวมาก เช่น อ่าวตะโละดาบ อ่าวตะโละอุดัง อ่าวหินงาม ฯลฯ ชื่อเหล่านี้มักจะตั้งตามสภาพที่พบเห็นเป็นส่วนใหญ่ เช่น อ่าวหินงาม มีชายหินที่มีความสวยงามตลอดแนว อ่าวตะโละอุดังมีกุ้งทะเลมาก เป็นต้น...
ดูเพิ่มเติม
เกาะหลีเป๊ะ หมายถึง เกาะที่ราบเรียบคล้ายกระดาษ ซึ่งมีที่มาจากภาษาท้องถิ่น ชาวเล (ชนเผ่าอุรักลาโว้ย) บนเกาะ ซึ่งส่วนใหญ่ทำอาชีพประมง รอบเกาะเต็มไปด้วยประการังอันสมบูรณ์ มีเวิ้งอ่าวที่สวยงาม หาดทรายขาวละเอียด เป็นศูนย์กลางของความสะดวกสบายมากมายทั้งที่พัก ที่กิน ที่เที่ยวยามค่ำคืนครบครัน บนเกาะเป็นที่อยู่อาศัยของชาวบ้านกลุ่มชาวเลในอดีตที่มีการตั้งชุมชนมายาวนานกว่า 100 ปี
กิจกรรมที่นิยมบนเกาะ หลีเป๊ะ ... ดูเพิ่มเติม
กิจกรรมที่นิยมบนเกาะ หลีเป๊ะ ... ดูเพิ่มเติม
เขาโต๊ะหงาย ตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา เขาลูกนี้มีหน้าผาริมทะเลที่สูงชัน เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติปรากฏอยู่ในบริเวณช่วงหนึ่งของหน้าผา กับการชนกันหรือรอยสัมผัสของหิน 2 ยุค คือหินทรายสีแดงแห่งยุคแคมเบรียน(542-488 ล้านปี) และ หินปูนสีเทาแห่งยุคออร์โดวิเชียน(488-444 ล้านปี) ที่เกิดจากรอยเลื่อนของเปลือกโลกกระทำให้หิน 2 ยุคเคลื่อนตัวมาชนกัน
ผู้สนใจได้เดินไปเที่ยวชมบริเวณรอยสัมผัสของหิน... ดูเพิ่มเติม
ผู้สนใจได้เดินไปเที่ยวชมบริเวณรอยสัมผัสของหิน... ดูเพิ่มเติม
จุดนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ของจังหวัดสตูล คล้ายกับทะเลแหวก มีความยาว 4 กิโลเมตร สามารถเดินลงไปเหยียบบนสันหลังมังกร ที่เป็นเนินทรายยาว ที่คลื่นซัดมา จะเห็นเป็นเกลียวคลื่นสีขาวพัดพลิวเป็นแนวยาว สิ้นสุดที่เกาะหัวมัน สามารถชมได้ในช่วงน้ำลง สามารถสอบถามจากคนเรือ
เขาเล่าว่า .. ที่เมืองพระสมุทรเทวาอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อน้ำลดเราจะได้เห็นแนวสันทรายคล้ายมังกรโผล่พ้นน้ำทะเล ราวกับมังกรกำลังพลิ้วกายแหวกว่ายอ... ดูเพิ่มเติม
เขาเล่าว่า .. ที่เมืองพระสมุทรเทวาอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อน้ำลดเราจะได้เห็นแนวสันทรายคล้ายมังกรโผล่พ้นน้ำทะเล ราวกับมังกรกำลังพลิ้วกายแหวกว่ายอ... ดูเพิ่มเติม
เกาะเขาใหญ่ อยู่ห่างจากท่าเรือปากบาราประมาณ 3 กิโลเมตร บนเกาะมีอ่าวชื่อนะปุลา นอกจากนี้ยังมีสถานที่เพาะเลี้ยงพันธุ์ปลาของประมงจังหวัดสตูล ตั้งอยู่ใกล้เกาะเขาใหญ่ ซึ่งนักท่องเที่ยวต่างนิยมแวะไปชมมากเช่นกัน
องค์กรยูเนสโกได้ประกาศให้ปราสาทหินพันยอด เป็นของอุทยานธรณีโลก (Satun UNESCO Global Geopark) พร้อมๆ กับสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงอื่นๆ ใน 4 อำเภอของจังหวัดสตูล คือ มะนัง ทุ่งห... ดูเพิ่มเติม
องค์กรยูเนสโกได้ประกาศให้ปราสาทหินพันยอด เป็นของอุทยานธรณีโลก (Satun UNESCO Global Geopark) พร้อมๆ กับสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงอื่นๆ ใน 4 อำเภอของจังหวัดสตูล คือ มะนัง ทุ่งห... ดูเพิ่มเติม
ด่านวังประจัน เขตแดนไทย-มาเลเซีย อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯทะเลบัน เพียง 2 กิโลเมตร หากเดินทางต่อไปอีกประมาณ 23 กิโลเมตร ก็จะถึงปาดังเบซาร์ แหล่งชุมนุมสินค้าต่างประเทศราคาถูก หรือหากต้องการไปยังเมืองกางะ ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐเปอร์ลิส ก็สามารถไปได้ เพียงเดินทางไปอีกประมาณ 30 กิโลเมตร เท่านั้น...
ดูเพิ่มเติม
เป็นศูนย์ข้อมูลแหล่งอนุรักษ์ทางธรณีวิทยาถือได้ว่าเป็นโครงการที่มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อจังหวัดสตูลยิ่ง อีกทั้งการให้ข้อมูลทางวิชาการ การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริมการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ การมีส่วนร่วมของเยาวชน และการสร้างความตระหนักของคนในท้องถิ่น ในการหาแนวทางการอนุรักษ์แหล่งทรัพยากรธรณีของจังหวัดสตูล รวมไปถึงการผลักดันอุทยานธรณีสตูล เพื่อจัดตั้งอุทยานธรณีระดับโลก อันจะนำไปสู่ความโดดเด่น...
ดูเพิ่มเติม