“วัดเบญจมบพิตร วัดหินอ่อน เป็นวัดประจำรัชกาลที่ 5”

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ วัดแหลม เนื่องจากตั้งอยู่บริเวณปลายแหลมที่สวนต่อกับทุ่งนา หรือ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดไทรทอง เนื่องจากอาจมีต้นไทรอยู่ภายในวัด

เมื่อ พ.ศ. 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ขึ้น พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาศิลา ทรงเป็นแม่ทัพรักษาพระนคร โดยทรงตั้งกองบัญชาการทัพที่วัดแหลม หลังจากปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์แล้ว กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พร้อมพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก 4 พระองค์ คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษ์เทเวศร์ (ต้นราชสกุลกุญชร) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทินกร กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ (ต้นราชสกุลทินกร) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล และ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงวงศ์ มีพระประสงค์ที่จะร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแหลม พร้อมทั้งทรงสร้างพระเจดีย์เรียงรายไว้หน้าวัด 5 องค์

ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร หมายความว่า วัดของเจ้านาย 5 พระองค์

พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร เมื่อแรกสร้างในปี พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ดินระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนเพื่อสร้างที่ประทับพักผ่อนพระอิริยาบถส่วนพระองค์ โดยพระราชทานนามว่า "สวนดุสิต" (พระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน) ซึ่งบริเวณที่ดินที่ทรงซื้อนั้นมีวัดโบราณ 2 แห่ง คือ

  1. วัดดุสิตซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรมโดยถูกใช้เป็นที่สร้างพลับพลา และ
  2. วัดร้างอีกแห่งซึ่งจำเป็นต้องใช้ที่ดินของวัดสำหรับตัดเป็นถนน

พระองค์จึงทรงกระทำผาติกรรม สร้างวัดแห่งใหม่เพื่อเป็นการทดแทนตามประเพณี โดยทรงเลือกวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดที่ทรงสถาปนาตามพระราชดำริว่า การสร้างวัดใหม่หลายวัดยากต่อการบำรุงรักษา ถ้ารวมเงินสร้างวัดเดียวให้เป็นวัดใหญ่ และทำโดยฝีมือประณีตจะดีกว่า จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ทรงออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถและถาวรวัตถุอื่น ๆ และมีพระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) เป็นนายช่างก่อสร้าง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2441

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมายังวัด ในการนี้ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศพระบรมราชูทิศถวายที่ดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัด พร้อมทั้งพระราชทานนามวัดใหม่ว่า วัดเบญจมบพิตร อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5 และเพื่อแสดงลำดับรัชกาลในมหาจักรีบรมราชวงศ์ ต่อมา พระองค์ได้ถวายที่ดินซึ่งพระองค์ขนานนามว่า ดุสิตวนาราม ให้เป็นที่วิสุงคามสีมาเพิ่มเติมแก่วัดเบญจมบพิตร และโปรดฯ ให้เรียกนามรวมกันว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม


วัดเบญจมบพิตร

แชร์

69 ถนนพระรามที่ 5 แขวงจิตรลดา เขต.ดุสิต จ.กรุงเทพมหานคร 10300 แผนที่

รีวิว 4 รายการ | ศิลปะวัฒนธรรม,ท่องเที่ยว,วัด,สถานที่,วัด

No hours available

02-2242961

n/a

3852

ทริปของคุณ

ลบออก

รีวิวทั้งหมด

(รีวิว 4 รายการ)

tao

รีวิวเมื่อ 9 มิ.ย. 54


ถูกใจ แชร์

tao

รีวิวเมื่อ 9 มิ.ย. 54

ใน พ.ศ. 2441 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนดุสิต โดยใช้วัดดุสิตเป็นที่สร้างพลับพลา และใช้สถานที่วัดสร้างตัดถนน ซึ่งต้องสร้างวัดขึ้นทดแทนตามประเพณี ได้ทรงเลือกวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดที่ทรงสถาปนาตามพระราชดำริว่า "การสร้างวัดใหม่หลายวัดยากต่อการบำรุงรักษา ถ้ารวมเงินสร้างวัดเดียวให้เป็นวัดใหญ่ และทำโดยฝีมือประณีตจะดีกว่า จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ เป็นผู้ทรงออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถ และถาวรวัตถุอื่นๆ และมีพระยาราชสงคราม (กรมกงสกุล) เป็นนายช่างก่อสร้าง และเริ่มสปาปนาวัดในปี พ.ศ. 2442 และโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนามราม" เพื่อให้คล้องกับพระราชวังดุสิตที่ทรงสร้างขึ้นใหม่
ใน พ.ศ. 2441 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสวนดุสิต โดยใช้วัดดุสิตเป็นที่สร้างพลับพลา และใช้สถานที่วัดสร้างตัดถนน ซึ่งต้องสร้างวัดขึ้นทดแทนตามประเพณี ได้ทรงเลือกวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดที่ทรงสถาปนาตามพระราชดำริว่า

ถูกใจ แชร์

tao

รีวิวเมื่อ 9 มิ.ย. 54

หลังจากปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์แล้ว กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์มีพระประสงค์จะปฏิสังขรณ์วัดแหลม พร้อมพระอนุชา และพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก 4 พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพิทักษ์เทเวศร์ (พระองค์เจ้าชายกุญชร ต้นราชสกุลกุญชร), พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ (พระองค์เจ้าชายทินกร ต้นราชกุล ทินกร), พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล และพระองค์เจ้าหญิงวงศื ทรงกร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแหลม ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า "วัดเบญจมบพิตร" ซึ่งหมายถึง "วัดของเจ้านาย 5 พระองค์"
หลังจากปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์แล้ว กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์มีพระประสงค์จะปฏิสังขรณ์วัดแหลม พร้อมพระอนุชา และพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก 4 พระองค์ ได้แก่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพิทักษ์เทเวศร์ (พระองค์เจ้าชายกุญชร ต้นราชสกุลกุญชร), พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ (พระองค์เจ้าชายทินกร ต้นราชกุล ทินกร), พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทนิล และพระองค์เจ้าหญิงวงศื ทรงกร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแหลม ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า

ถูกใจ แชร์

tao

รีวิวเมื่อ 9 มิ.ย. 54

"วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม" เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อ "วัดแหลม" เนื่องจากอยู่ปลายแหลมส่วนที่ต่อกับทุ่งนา และมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "วัดไทรทอง" ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่าสร้างมาตั้งแต่เมื่อใด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ในปี พ.ศ. 2372 จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพิพิธโภคภูเบนทร์ พระนามเดิมพระองค์เจ้าพนาวัน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้สนภาลัย และเจ้าจอมมารดาศิลา ทรงเป็นแม่ทัพในการรักษาพระนคร ได้ทรงตั้งกองบัญชาการทัพที่วัดแหลม

ถูกใจ แชร์

สถานที่ใกล้เคียง

พระบรมรูปทรงม้า พระบรมรูปทรงม้า (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 0.40 กิโลเมตร

พระที่นั่งอนันตสมาคม พระที่นั่งอนันตสมาคม (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 0.58 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์ศิลปาชีพ พระที่นั่งอภิเษกดุสิต พิพิธภัณฑ์ศิลปาชีพ พระที่นั่งอภิเษกดุสิต (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 0.78 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์พระที่นั่งวิมานเมฆ พิพิธภัณฑ์พระที่นั่งวิมานเมฆ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 0.99 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์รถม้าพระที่นั่ง พิพิธภัณฑ์รถม้าพระที่นั่ง (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.08 กิโลเมตร

พระตำหนักสวนหงส์ พระตำหนักสวนหงส์ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.09 กิโลเมตร

วัดอินทรวิหาร วัดอินทรวิหาร (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.27 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์แร่ และหิน พิพิธภัณฑ์แร่ และหิน (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.39 กิโลเมตร

พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.57 กิโลเมตร

โรงแรมใกล้เคียง

เดอะ ระวีกัลยา แบงค็อก เดอะ ระวีกัลยา แบงค็อก (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.98 กิโลเมตร

โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง โรงแรมรอยัล ปริ๊นเซส หลานหลวง (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.02 กิโลเมตร

มิดทาวน์ กรุงเทพฯ มิดทาวน์ กรุงเทพฯ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.44 กิโลเมตร

โฟร์มังกี้ โฟร์มังกี้ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.44 กิโลเมตร

ไอยาธร ไอยาธร (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.49 กิโลเมตร

นูโว ซิตี้ โฮเทล นูโว ซิตี้ โฮเทล (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.67 กิโลเมตร

ไดมอนด์ เฮาส์ ไดมอนด์ เฮาส์ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.68 กิโลเมตร

คาซา วิมายา ริเวอร์ไซด์ คาซา วิมายา ริเวอร์ไซด์ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.69 กิโลเมตร

เดอะ โคซี เฮาส์ โฮเทล เดอะ โคซี เฮาส์ โฮเทล (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.82 กิโลเมตร

บ้านนพวงศ์ บ้านนพวงศ์ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.84 กิโลเมตร

ร้านอาหารใกล้เคียง

รุ่งเรืองบะหมี่เกี๊ยว รุ่งเรืองบะหมี่เกี๊ยว (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.27 กิโลเมตร

สลัดปลา สลัดปลา (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.99 กิโลเมตร

ลิ่มฮั่วเฮง ลิ่มฮั่วเฮง (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.13 กิโลเมตร

พูลสิน ภัตตาคาร พูลสิน ภัตตาคาร (รีวิว 2 รายการ)

ห่าง 1.16 กิโลเมตร

สมบูรณ์โภชนา ถนนบรรทัดทอง สมบูรณ์โภชนา ถนนบรรทัดทอง (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.20 กิโลเมตร

ก๋วยเตี๋ยวกะลา ก๋วยเตี๋ยวกะลา (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.46 กิโลเมตร

โอรส โอรส (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.55 กิโลเมตร

ราดหน้า นายเก้า ราดหน้า นายเก้า (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.68 กิโลเมตร

ลูกชิ้นปลานายง้ำ ลูกชิ้นปลานายง้ำ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 1.70 กิโลเมตร

ไส้กรอกหมูวุ้นเส้นบางลำภู ไส้กรอกหมูวุ้นเส้นบางลำภู (รีวิว 2 รายการ)

ห่าง 1.73 กิโลเมตร