“ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นเทวสถานในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย”

ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นเทวสถานในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย มีอายุการก่อสร้างและใช้เป็นเทวสถาน ต่อเนื่องกันมา หลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 17 จนถึงพุทธ ศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมหันมานับถือศาสนาลัทธิมหายาน

เทวสถานแห่งนี้ จึงคงจะได้รับการดัดแปลงเป็นพุทธศาสนาลัทธิมหายานในช่วงนั้น ตัวโบราณสถาน ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟ ที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตร จากพื้นราบ คำว่า "พนมรุ้ง" หรือ "วนํรุง" เป็นภาษาเขมรแปลว่า "ภูเขาใหญ่" ปราสาทพนมรุ้งหันไปทางทิศตะวันออก ประกอบ ด้วยอาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่ตั้งเรียง รายขึ้นไปจากลาดเขาทางขึ้นจนถึงปรางค์ประธาน บนยอดอัน เปรียบเสมือนวิมานที่ประทับของพระศิวะ

องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถาน


การเดินทางไปชมปราสาทหินพนมรุ้ง

รถโดยสาร

จากอำเภอนางรอง จะมีรถสองแถวรับจ้างเหมาขึ้นปราสาทพนมรุ้ง คันละประมาณ 200-300 บาท หรือติดต่อโดยตรงที่ สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง โทร. (044) 631746 เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.30-16.30 น.

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง

แชร์

บ้านตาเป็ก ต.ตาเป็ก อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.บุรีรัมย์ 31110 แผนที่

รีวิว 24 รายการ | ศิลปะวัฒนธรรม,ท่องเที่ยว,ศาสนสถาน,สถานที่,โบราณสถาน

ไม่ทราบเวลาเปิดปิดที่แน่นอน

n/a

https://www.thai-tour.com/thai-tour/northeast/buriram/data/place/hpk_phanomrung.htm

6155

ทริปของคุณ

ลบออก

รีวิวทั้งหมด

(รีวิว 24 รายการ)

Not identifiable

รีวิวเมื่อ 29 ต.ค. 55

สวยมากเคยไปเเล้วหนึ่งครั้ง

ถูกใจ แชร์

Jirapong Thivawongsakal

รีวิวเมื่อ 11 ก.ย. 55

ภาพบนทับหลังเป็นภาพตอน อินทรชิตโอรสของท้าวราพณ์แผลงศรเป็นนาครัดพระรามและพระลักษณ์ไว้ ส่วนภาพบนหน้าบันเป็นภาพตอนท้าวราพณ์ให้นางตรีชฏาพานางสีดามาดูการรบ นางสีดาเข้าใจว่าพระรามสิ้นพระชนม์ แต่นางตรีชฏาปลอบว่าหญิงม้ายประทับบุษบถจะไม่ลอย แต่นี่บุษบถยังลอยอยู่แสดงว่าพระรามยังไม่สิ้นพระชนม์ ขณะที่หนุมานเหาะไปเอาโอสถที่เกษียรสมุทร เพื่อแก้ไขพระรามกับพระลักษณ์ พระยาครุตซึ่งเป็นศัตรูกับนาคบินมา ที่สนามรบ นาคหนีไป

ถูกใจ แชร์

Jirapong Thivawongsakal

รีวิวเมื่อ 11 ก.ย. 55

ต่อ...
สำหรับพระพรหม ซึ่งประทับเหนือดอกบัวนั้น มีสี่พักตร์ สี่กร ถัดจากองค์พระนารายณ์มาทางซ้ายบริเวณเลี้ยวของทับหลัง มีรูปหน้ากาลคายพวงอุบะขนาดใหญ่ เหนือหน้ากาลมีรูปครุฑ ใช้มือยึดนาคไว้ข้างละต้นนอกจากนี้ยังปรากฏรูปสัตว์อื่น ๆ ได้แก่ นกแก้ว ลิง และนกหัสดีลิงก์คาบช้างอยู่ด้วย

การบรรทมสินธุ์ของพระนารายณ์นั้น คือ การบรรทมในช่วงการสร้างโลก การบรรทมแต่ละครั้งนั้น จะเกี่ยวกับยุคเวลาในแต่ละกัลป์ภาพทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ที่ปราสาทพนมรุ้งนี้ คงได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์วราหปุราณะ เป็นคัมภีร์ที่ให้ความสำคัญแก่ พระนารายณ์เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่ในขณะที่พระนารายณ์ กำลังบรรทมอยู่นั้น ได้ทรางสุบินขึ้นจากพระนาภี บนดอกบัวได้บังเกิดพระพรหม และพระพรหมทรงเป็นผู้สร้างมนุษย์ และสิ่งต่าง ๆ
ต่อ...
สำหรับพระพรหม ซึ่งประทับเหนือดอกบัวนั้น มีสี่พักตร์ สี่กร ถัดจากองค์พระนารายณ์มาทางซ้ายบริเวณเลี้ยวของทับหลัง มีรูปหน้ากาลคายพวงอุบะขนาดใหญ่ เหนือหน้ากาลมีรูปครุฑ ใช้มือยึดนาคไว้ข้างละต้นนอกจากนี้ยังปรากฏรูปสัตว์อื่น ๆ ได้แก่ นกแก้ว ลิง และนกหัสดีลิงก์คาบช้างอยู่ด้วย

การบรรทมสินธุ์ของพระนารายณ์นั้น คือ การบรรทมในช่วงการสร้างโลก การบรรทมแต่ละครั้งนั้น จะเกี่ยวกับยุคเวลาในแต่ละกัลป์ภาพทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์ ที่ปราสาทพนมรุ้งนี้ คงได้รับอิทธิพลจากคัมภีร์วราหปุราณะ เป็นคัมภีร์ที่ให้ความสำคัญแก่ พระนารายณ์เป็นเทพผู้ยิ่งใหญ่ในขณะที่พระนารายณ์ กำลังบรรทมอยู่นั้น ได้ทรางสุบินขึ้นจากพระนาภี บนดอกบัวได้บังเกิดพระพรหม และพระพรหมทรงเป็นผู้สร้างมนุษย์ และสิ่งต่าง ๆ

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

ทางขึ้นไปสู่ยอดเขาพนมรุ้ง
ทางขึ้นไปสู่ยอดเขาพนมรุ้ง

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

บรรยากาศหลังจากที่เดินขึ้นมาแล้ว
บรรยากาศหลังจากที่เดินขึ้นมาแล้ว

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

ศึกอินทรชิต
ศึกอินทรชิต

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

เดินเข้าไปอีกชั้น (ในสุด)
เดินเข้าไปอีกชั้น (ในสุด)

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์
ทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

ปราสาทพนมรุ้ง (ชั้นใน)
ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ซึ่งนับถือ พระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้นเขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะ

องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถาน
ปราสาทพนมรุ้ง (ชั้นใน)
ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ซึ่งนับถือ พระศิวะเป็นเทพเจ้าสูงสุด ดังนั้นเขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ประทับของพระศิวะ

องค์ประกอบและแผนผังของปราสาทพนมรุ้งได้รับการออกแบบให้มีลักษณะเป็นแนวเส้นตรง และเน้นความสำคัญเข้าหาจุดศูนย์กลาง นั่นคือปราสาทประธานซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านขวาของบันไดทางขึ้นสู่ศาสนสถานมีอาคารที่เรียกว่า พลับพลา อาคารนี้อาจจะเป็นอาคารที่เรียกกันในปัจจุบันว่า พลับพลาเปลื้องเครื่อง ซึ่งเป็นที่พักจัดเตรียมองค์ของพระมหากษัตริย์ ก่อนเสด็จเข้าสู่การสักการะเทพเจ้าหรือประกอบพิธีกรรมในบริเวณศาสนสถาน

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

เดินเท้าต่อสู่ปราสาทชั้นใน
เดินเท้าต่อสู่ปราสาทชั้นใน

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

ประวัติปราสาทพนมรุ้งแบบย่อ
พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งเมืองพระนคร (พ.ศ. 1487-1511) ได้สถาปนาเทวาลัยถวายพระอิศวรที่เขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรก ๆ คงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ. 1511-1544) ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิทรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง มีประวัติหลายอย่างทางวัถตุทางธรรมชาติกว่า100000 ปีควรอนุรักษ์ไว้ไห้ลูกหลานสืบต่อไป ความสวยงาม ความเป็นอยู่ของประชากร ของชาวจ.บุรีรัมย์
ประวัติปราสาทพนมรุ้งแบบย่อ
พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 3 กษัตริย์แห่งเมืองพระนคร (พ.ศ. 1487-1511) ได้สถาปนาเทวาลัยถวายพระอิศวรที่เขาพนมรุ้ง ซึ่งในสมัยแรก ๆ คงยังไม่ใหญ่โตนัก ต่อมาพระเจ้าชัยวรมันที่ 5 (พ.ศ. 1511-1544) ได้ทรงอุทิศที่ดินและข้าทาสถวายแด่เทวสถานพนมรุ้ง ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 17 นเรนทราทิตย์ เจ้านายแห่งราชวงศ์มหิทรปุระที่ปกครองดินแดนแถบนี้ (ซึ่งเป็นต้นตระกูลของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ผู้สร้างนครวัด) ได้สร้างปราสาทแห่งนี้ขึ้นและได้ทรงบำเพ็ญพรตเป็นโยคี ณ ปราสาทพนมรุ้ง มีประวัติหลายอย่างทางวัถตุทางธรรมชาติกว่า100000 ปีควรอนุรักษ์ไว้ไห้ลูกหลานสืบต่อไป ความสวยงาม ความเป็นอยู่ของประชากร ของชาวจ.บุรีรัมย์

ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55


ถูกใจ แชร์

Nut

รีวิวเมื่อ 30 พ.ค. 55

จุดชมวิวระหว่างเดินทาง
จุดชมวิวระหว่างเดินทาง

ถูกใจ แชร์

heartkub

รีวิวเมื่อ 3 พ.ย. 53

ร้านค้าปากทางเข้า
อิ่มท้องไว้ก่อน..เพราะต้องเดินเที่ยวอีกนาน...
ร้านค้าปากทางเข้า
อิ่มท้องไว้ก่อน..เพราะต้องเดินเที่ยวอีกนาน...

ถูกใจ แชร์

heartkub

รีวิวเมื่อ 3 พ.ย. 53

อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่
อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง 
ประกอบไปด้วยโบราณสถานสำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง) คำว่า พนมรุ้ง นั้น มาจากภาษาเขมร คำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่

ถูกใจ แชร์

heartkub

รีวิวเมื่อ 3 พ.ย. 53

ภาพสลักทับหลังพระนารายณ์
พระนารายณ์บรรทมตะแคงขวา เหนือ พระยาอนันตนาคราช ซึ่งทอดตัวอยุ่เหนือมังกรอีกต่อหนึ่งท่ามกลางเกษียรสมุทรมีก้านดอกบัวผุด ขึ้นจากพระนาภีของพระองค์ มีพระพรหมประอยู่เหนือดอก บัวนั้น พระนารายณ์ทรงถือ คฑา สังข์ และจักรไว้ในพระหัตถ์หน้าซ้าย พระหัตถ์หลังซ้ายและพระหัตถ์หลังด้านขวา ตามลำดับ ส่วนพระหัตถ์หน้า ขวา รอบรับพระเศียรของพระองค์เองทรงมงกุฏรูปกรวยกภณฑล กรองศอ และทรงผ้าจีบเป็นริ้ว มีชายผ้ารูปหาปลาซ้อนกันอยู่ 2 ชั้นด้านหน้าคาดด้วย สายรัดพระองค์ มีอุบะขนาดสั้นห้อยประดับมีปพระลักษณมีชายาพระองค์ประทับนั้นอยู่ตรงปลายพระบาท
ภาพสลักทับหลังพระนารายณ์
พระนารายณ์บรรทมตะแคงขวา เหนือ พระยาอนันตนาคราช ซึ่งทอดตัวอยุ่เหนือมังกรอีกต่อหนึ่งท่ามกลางเกษียรสมุทรมีก้านดอกบัวผุด ขึ้นจากพระนาภีของพระองค์ มีพระพรหมประอยู่เหนือดอก บัวนั้น พระนารายณ์ทรงถือ คฑา สังข์ และจักรไว้ในพระหัตถ์หน้าซ้าย พระหัตถ์หลังซ้ายและพระหัตถ์หลังด้านขวา ตามลำดับ ส่วนพระหัตถ์หน้า ขวา รอบรับพระเศียรของพระองค์เองทรงมงกุฏรูปกรวยกภณฑล กรองศอ และทรงผ้าจีบเป็นริ้ว มีชายผ้ารูปหาปลาซ้อนกันอยู่ 2 ชั้นด้านหน้าคาดด้วย สายรัดพระองค์ มีอุบะขนาดสั้นห้อยประดับมีปพระลักษณมีชายาพระองค์ประทับนั้นอยู่ตรงปลายพระบาท

ถูกใจ แชร์

สถานที่ใกล้เคียง

ปราสาทบ้านบุ ปราสาทบ้านบุ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 4.19 กิโลเมตร

ปราสาทเมืองต่ำ ปราสาทเมืองต่ำ (รีวิว 1 รายการ)

ห่าง 5.99 กิโลเมตร

โรงแรมใกล้เคียง

บ้านบองปะโอน บ้านบองปะโอน (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 5.73 กิโลเมตร