“อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ปราสาทหินที่ใหญที่สุด เป็นโบราณสถานสมัยอาณาจักรขอมที่ใหญ่โตและงดงามมาก”

เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะขอม มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ พิมาย น่าจะมาจากคำว่า วิมาย หรือ วิมายปุระ ที่ปรากฏในจารึกภาษาขอมบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท

จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7

เมื่ออิทธิพลของวัฒนธรรมขอมเริ่มเสื่อมลงหลังรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยในเวลาต่อมา เมืองพิมายคงจะหมดความสำคัญลง และหายไปในที่สุด

เนื่องไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับเมืองพิมายเลยในสมัยสุโขทัย ในปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทหินพิมายเป็นโบราณสถาน และได้จัดตั้งเป็น อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยได้ดำเนินการปรับปรุงจัดตั้งถึง 13 ปี ร่วมมือกันระหว่างกรมศิลปากร และประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2532 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ พระราชดำเนิน เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยาน

ตัวอุทยานตั้งอยู่ฟากทิศตะวันออกของแม่น้ำมูล บนพื้นที่ 115 ไร่ วางแผนเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 565 เมตร ยาว 1,030 เมตร ลักษณะพิเศษของปราสาทหินพิมาย คือ ปราสาทหินแห่งนี้สร้างหันหน้าไปทางทิศใต้ ต่างจากปราสาทหินอื่นๆที่มักหันไปทางทิศตะวันออก สันนิษฐานว่าเพื่อให้หันรับกับเส้นทางตัดมาจากเมืองยโศธรปุระ เมืองหลวงในสมัยนั้นของขอม ซึ่งเข้ามาสู้เมืองพิมายทางทิศใต้


เที่ยวได้ทุกวัน

ปราสาทหินพิมาย

แชร์

อ.พิมาย จ.นครราชสีมา 30110 แผนที่

รีวิว 16 รายการ | ศิลปะวัฒนธรรม,ท่องเที่ยว,ศาสนสถาน,โบราณสถาน

ไม่ทราบเวลาเปิดปิดที่แน่นอน

n/a

n/a

4138

ทริปของคุณ

ลบออก

รีวิวทั้งหมด

(รีวิว 16 รายการ)

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ด้านในสุดกำแพงปราสาท
ด้านในสุดกำแพงปราสาท

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ปราสาทหินพิมายด้านท้ายสุด
ปราสาทหินพิมายด้านท้ายสุด

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

พระพุทธในห้องโถงในตัวปราสาท
พระพุทธในห้องโถงในตัวปราสาท

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ทับหลัง
ทับหลัง

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

เริ่มเข้าสู่ตัวปราสาทหินพิมาย ชั้นใน
เริ่มเข้าสู่ตัวปราสาทหินพิมาย ชั้นใน

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

รอบนอกกำแพงปราสาทหินพิมาย
รอบนอกกำแพงปราสาทหินพิมาย

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55


ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ปราสาทประธาน
เป็นส่วนสำคัญที่สุดของปราสาทหินพิมาย เป็นปราสาทองค์ใหญ่ สร้างขึ้นราวพุทธศรรตวรรษที่ 16-17 ก่อสร้างด้วยศิลาทรายสีขาวหันหน้าไปทางทิศใต้ ซึ่งแตกต่างจากศาสนสถานแบบขอมในที่อื่นๆ ซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปราสาทประธานประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ มณฑป และ เรือนธาตุ มีการจำหลักลวดลายประดับตามส่วนต่างๆ เช่น หน้าบัน ทับหลัง มักจำหลักเป็นภาพเล่าเรื่องรามเกียรติ์และเรื่องราวทางพุทธศาสนา ยกเว้นทางด้านทิศใต้ จำหลักเป็นภาพศิวนาฏราช ภายในเรือนธาตุเป็นส่วนสำคัญที่สุดเรียกว่า ห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพสำคัญ พื้นห้องตรงมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีร่องน้ำมนต์ต่อลอดผ่านพื้นห้องออกไปทางด้านนอก เรียกว่า ท่อโสมสูตร
ปราสาทประธาน
เป็นส่วนสำคัญที่สุดของปราสาทหินพิมาย เป็นปราสาทองค์ใหญ่ สร้างขึ้นราวพุทธศรรตวรรษที่ 16-17 ก่อสร้างด้วยศิลาทรายสีขาวหันหน้าไปทางทิศใต้ ซึ่งแตกต่างจากศาสนสถานแบบขอมในที่อื่นๆ ซึ่งมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ปราสาทประธานประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วนคือ มณฑป และ เรือนธาตุ มีการจำหลักลวดลายประดับตามส่วนต่างๆ เช่น หน้าบัน ทับหลัง มักจำหลักเป็นภาพเล่าเรื่องรามเกียรติ์และเรื่องราวทางพุทธศาสนา ยกเว้นทางด้านทิศใต้ จำหลักเป็นภาพศิวนาฏราช ภายในเรือนธาตุเป็นส่วนสำคัญที่สุดเรียกว่า ห้องครรภคฤหะ เป็นที่ประดิษฐานรูปเคารพสำคัญ พื้นห้องตรงมุมด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีร่องน้ำมนต์ต่อลอดผ่านพื้นห้องออกไปทางด้านนอก เรียกว่า ท่อโสมสูตร

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ระเบียงรอบปราสาท
ระเบียงรอบปราสาท

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

หลุมบรรจุวัตถุมงคล
หลุมบรรจุวัตถุมงคล

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ส่วนชั้นใน
ส่วนชั้นใน

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

รอบกำแพงชั้นนอก
รอบกำแพงชั้นนอก

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

เที่ยวปราสาทขอม...ยามเย็นนี่ดีไปอย่าง ไม่ร้อน เดินแบบชิลๆ ได้เรื่อยๆ
เที่ยวปราสาทขอม...ยามเย็นนี่ดีไปอย่าง ไม่ร้อน เดินแบบชิลๆ ได้เรื่อยๆ

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ผมมาถึงในยามเย็นใกล้ 6 โมงแล็ว โชคดีที่ยังไม่ปิด
ผมมาถึงในยามเย็นใกล้ 6 โมงแล็ว โชคดีที่ยังไม่ปิด

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

เริ่มเข้าสู่ภายในตัวปราสาทหินพิมาย
เริ่มเข้าสู่ภายในตัวปราสาทหินพิมาย

ถูกใจ แชร์

pem

รีวิวเมื่อ 7 ม.ค. 55

ทริปนี้ผมมาถึงเย็นไปหน่อย แต่ทางอุทยานฯยังเปิดอยู่ จึงต้องรีบเก็บภาพหน่อย
ทริปนี้ผมมาถึงเย็นไปหน่อย แต่ทางอุทยานฯยังเปิดอยู่ จึงต้องรีบเก็บภาพหน่อย

ถูกใจ แชร์

สถานที่ใกล้เคียง

พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพิมาย (รีวิว 2 รายการ)

ห่าง 0.53 กิโลเมตร

ไทรงาม ไทรงาม (รีวิว 2 รายการ)

ห่าง 1.34 กิโลเมตร

โรงแรมใกล้เคียง

พิมาย พาราไดซ์ พิมาย พาราไดซ์ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.18 กิโลเมตร

พิมาย เรสซิเดนซ์ พิมาย เรสซิเดนซ์ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.21 กิโลเมตร

แรบบิท โฮเต็ล พิมาย แรบบิท โฮเต็ล พิมาย (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.95 กิโลเมตร

กอดพิมาย รีสอร์ท กอดพิมาย รีสอร์ท (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.12 กิโลเมตร

บ้านลิตา บ้านลิตา (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 1.44 กิโลเมตร

ร้านอาหารใกล้เคียง

เคียงมูล เคียงมูล (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.12 กิโลเมตร

พจน์เป็ดย่าง พจน์เป็ดย่าง (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.15 กิโลเมตร

ระเบียงไม้ ระเบียงไม้ (รีวิว 0 รายการ)

ห่าง 0.19 กิโลเมตร

ทิวไผ่เป็ดย่างพิมาย ทิวไผ่เป็ดย่างพิมาย (รีวิว 21 รายการ)

ห่าง 1.18 กิโลเมตร

ติ๋ม จงสงวนกลาง ติ๋ม จงสงวนกลาง (รีวิว 2 รายการ)

ห่าง 1.35 กิโลเมตร

สวนอาหารริเวอร์ไซด์ สวนอาหารริเวอร์ไซด์ (รีวิว 3 รายการ)

ห่าง 3.80 กิโลเมตร